DSpace Repository

Co-effects of silver nanoparticles and microplastics on nitrifying microorganisms from wastewater treatment plants and their activities

Show simple item record

dc.contributor.advisor Tawan Limpiyakorn
dc.contributor.advisor Eakalak Khan
dc.contributor.author Nampetch Charanaipayuk
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Graduate School
dc.date.accessioned 2023-02-03T03:53:51Z
dc.date.available 2023-02-03T03:53:51Z
dc.date.issued 2022
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81468
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2022
dc.description.abstract Silver nanoparticles (AgNPs) and microplastics are emerging water contaminants of the decade. They share a similar fate and transport in wastewater treatment plants as they tend to accumulate in sludge of aeration tanks. Since both contaminants have negative effects on microbial growth, the ammonia-oxidizing microorganisms in the aeration tanks are at risk for inhibition and consequently nitrification process fails. This study investigated the effects of AgNPs and microplastics on ammonia-oxidizing activity and community. No inhibition of ammonia oxidation rate was observed at 0.1 mg/L AgNPs. Partial inhibition was found at 0.5 and 1 mg/L AgNPs, while complete inhibition occurred at higher concentrations of 2.5, 5, and 10 mg/L AgNPs. qPCR targeting AOA, AOB, and comammox amoA genes indicated that the numbers of the AOB amoA genes decreased when AgNPs were ≥2.5 mg/L while the comammox amoA genes dropped at ≥0.5 mg/L of AgNPs. Inhibition of AOA was found at AgNP concentrations above 0.5 mg/L but in substantially less compared to AOB and comammox. This study suggests that the three ammonia-oxidizing microorganisms have different responses to AgNP. The co-effect of AgNPs and PVC was studied in microcosms at concentrations of 0.5 mg/L and 500 mg/L, respectively. The results showed that the PVC microplastics had no inhibitory effects on the ammonia oxidation rate. Interestingly, the microcosms, in which the PVC was pre-shaken for 7 days before adding the sludge and AgNPs showed, a faster ammonia oxidation rate than the microcosms containing the sludge and AgNPs with and without fresh (non-shaken) PVC. This suggests that the pre-shaken PVC microplastics may reduce the toxicity of AgNPs. qPCR results indicated that PVC microplastics did not suppress AOA, AOB, and comammox.
dc.description.abstractalternative อนุภาคซิลเวอร์นาโนและไมโครพลาสติกถูกจัดเป็นสารปนเปื้อนที่สามารถพบได้มากในน้ำเสียในปัจจุบัน โดยสารปนเปื้อนทั้งสองชนิดนี้มีสภาวะและการเคลื่อนที่ที่เหมือนกันในระบบบำบัดน้ำเสีย โดยจะสะสมในบ่อบำบัดซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของจุลินทรีย์ออกซิไดซ์แอมโมเนีย เนื่องจากสารปนเปื้อนทั้งสองชนิดมีคุณสมบัติในการยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ ทำให้จุลินทรีย์ออกซิไดซ์แอมโมเนียอาจถูกยับยั้งการเจริญเติบโตและยับยั้งกิจกรรมการออกซิไดซ์แอมโมเนียซึ่งอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้ ในการศึกษาครั้งนี้ จุลินทรีย์ออกซิไดซ์แอมโมเนีย 3 กลุ่มประกอบด้วย AOA, AOB และ comammox ถูกนำไปทดสอบผลกระทบของอนุภาคซิลเวอร์นาโนต่อกิจกรรมการออกซิไดซ์แอมโมเนีย จากผลการทดลองพบว่าไม่มีการยับยั้งกิจกรรมออกซิไดซ์แอมโมเนียเกิดขึ้นที่ความเข้มข้นของอนุภาคซิลเวอร์นาโน 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร ในขณะที่ความเข้มข้น 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร อนุภาคซิลเวอร์นาโนสามารถยับยั้งกิจกรรมออกซิไดซ์แอมโมเนียได้บางส่วน และมีการยับยั้งกิจกรรมการออกซิไดซ์แอมโมเนียแบบสมบูรณ์ ที่ความเข้มข้น 2.5, 5 และ 10 มิลลิกรัมต่อลิตร จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของประชากรจุลินทรีย์พบว่า อนุภาคซิลเวอร์นาโนสามารถยับยั้งการเจริญของ AOB และ comammox ถูกยับยั้งการเจริญที่ความเข้มข้นตั้งแต่ 2.5 และ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตรขึ้นไปตามลำดับ ในขณะที่ AOA ถูกยับยั้งที่ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตรขึ้นไปแต่ในจำนวนที่น้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับ AOB และ comammox จากนั้น จุลินทรีย์ออกซิไดซ์แอมโมเนียถูกนำไปทดสอบผลกระทบของอนุภาคซิลเวอร์นาโนและ ไมโครพลาสติกชนิดพีวีซีต่อกิจกรรมการออกซิไดซ์แอมโมเนีย ผลการทดลองพบว่า ไมโครพลาสติกชนิดพีวีซีไม่มีผลในการยับยั้งกิจกรรมการออกซิไดซ์แอมโมเนีย อย่างไรก็ตาม ในชุดการทดลองที่มีการนำโครพลาสติกชนิดพีวีซีไปเขย่าในอาหารเลี้ยงเชื้อ 7 วันก่อนการเติมอนุภาคซิลเวอร์นาโนและจุลินทรีย์ ใช้เวลาในการออกซิไดซ์แอมโมเนียน้อยกว่าชุดการทดลองอื่นที่มีการเติมอนุภาคซิลเวอร์นาโน ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าไมโครพลาสติกชนิดพีวีซีที่ถูกนำไปเขย่าก่อน 7 วันอาจมีการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติที่อาจทำให้อนุภาคซิลเวอร์นาโนมีความเป็นพิษลดลงได้ นอกจากนี้ยังพบว่าไมโครพลาสติกชนิดพีวีซีไม่สามารถยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ทั้ง 3 กลุ่มได้
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.187
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject.classification Environmental Science
dc.title Co-effects of silver nanoparticles and microplastics on nitrifying microorganisms from wastewater treatment plants and their activities
dc.title.alternative ผลกระทบร่วมของอนุภาคซิลเวอร์นาโนและไมโครพลาสติกต่อจุลินทรีย์กลุ่มไนตริไฟอิงจากโรงบำบัดน้ำเสียและกิจกรรมการกำจัดไนโตรเจน
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Hazardous Substance and Environmental Management
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2022.187


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record