dc.contributor.advisor |
Rangsima Sakoolnamarka |
|
dc.contributor.advisor |
Panida Thanyasrisung |
|
dc.contributor.author |
Pawinee Wiriyasatiankun |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry |
|
dc.date.accessioned |
2023-02-03T04:56:57Z |
|
dc.date.available |
2023-02-03T04:56:57Z |
|
dc.date.issued |
2021 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81762 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2021 |
|
dc.description.abstract |
This study investigated the effect of an alkasite material on the pH of Streptococcus mutans biofilm and dentin hardness. S. mutans biofilms were formed on a resin composite (FZ) and an alkasite (CN) materials and their pH determined after 24 h. Hydroxide, fluoride and calcium ions released from the materials were determined at 6 h, 1, 3, 7, 14, and 28 d. Fourteen human molar teeth were cut horizontally across the middle third of the crown, bisected mesio-distally into two sections and each section divided into two, yielding four quadrants. Quadrant 1 was a sound dentin control, quadrants 2-4 were chemically demineralized, a cylinder of FZ and CN placed on the surfaces of quadrants 2 and 4, respectively. The microhardness of quadrants 1 and 3 were measured at depths of 20, 40, and 60 µm from the occlusal surface, and similarly of quadrants 2 and 4 after 30 days. Independent t-tests, Mann-Whitney-U, and repeated-measure-ANOVA tests were used for data analysis.The pH of the biofilm on CN (4.45) was significantly higher(p<0.05) than that on FZ (4.06).The quantity of all ions released from CN was significantly higher than from FZ. The hardness of demineralized dentin under CN was significantly higher than that of demineralized dentin at all depths, and higher than that of demineralized dentin under FZ at 20 and 40 µm. In conclusion, CN released hydroxide, fluoride, and calcium ions, which was associated with raising the biofilm pH and the hardness of demineralized dentin. |
|
dc.description.abstractalternative |
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของไอออนที่ปลดปล่อยจากวัสดุอัลคาไซต์ต่อค่าความเป็นกรด-เบส ของ สเตร็พโตคอคคัส มิวแทนส์ ไบโอฟิล์ม และความแข็งผิวของเนื้อฟัน
วัสดุและวิธีการ: วัสดุที่ใช้ในการศึกษาแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ เรซินคอมโพสิต (FZ) และ อัลคาไซต์ (CN) การศึกษาแบ่งเป็น 3 การทดลอง ได้แก่ 1) การวัดค่าความเป็นกรด-เบส ของสเตร็พโตคอคคัส มิวแทนส์ ไบโอฟิล์ม ที่ยึดเกาะบนวัสดุ FZ และ CN จำนวนกลุ่มละ 31 ชิ้น เป็นเวลา 24 ชั่วโมง 2) การวัดความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ ฟลูออไรด์ และแคลเซียมไอออนสะสมที่ปลดปล่อยจากวัสดุ FZ และ CN จำนวนกลุ่มละ 31ชิ้น เมื่อแช่วัสดุลงในน้ำปราศจากไอออนเป็นระยะเวลา 6 ชั่วโมง, 1, 3, 7, 14 และ 28 วัน 3) การวัดค่าความแข็งผิวของเนื้อฟันกรามถาวรมนุษย์จำนวน 14 ซี่ การเตรียมฟันทำโดยแบ่งฟัน 1 ซี่ เป็น 2 ชิ้น ตัดแนวนอน ผ่านกลางตัวฟันในแนวใกล้กลาง-ไกลกลาง ฟันที่ตัด 1 ชิ้น แบ่งได้เป็น 2 ส่วน กล่าวคือฟัน 1 ซี่ แบ่งเป็น 4 จตุภาค จตุภาคที่ 1 คือเนื้อฟันปกติ จตุภาคที่ 2 ถึง 4 จะผ่านการแช่สารละลายตัวของแร่ธาตุ จากนั้นทำการบูรณะจตุภาคที่ 2 และ 4 ด้วยวัสดุ FZ และ CN ตามลำดับ ทำการวัดความแข็งผิวของเนื้อฟันในระดับความลึก 20, 40 และ 60 ไมครอน จากด้านบดเคี้ยว โดยจตุภาคที่ 2 และ 4 ทำการวัดความแข็งผิวของเนื้อฟันภายหลังบูรณะด้วยวัสดุ 30 วัน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ผล ได้แก่ Independent t-tests, Mann-Whitney-U และ repeated-measure-ANOVA
ผลการศึกษา: 1) ค่าความเป็นกรด-เบส ของสเตร็พโตคอคคัส มิวแทนส์ ไบโอฟิล์ม ที่ยึดเกาะบนวัสดุ CN (4.45) สูงกว่า FZ (4.06) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2) ความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ ฟลูออไรด์ และแคลเซียมไอออนสะสมที่ปลดปล่อยจากวัสดุ CN สูงกว่า FZ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทุกช่วงเวลาที่วัด 3) เนื้อฟันที่ผ่านการละลายแร่ธาตุ และบูรณะด้วยวัสดุ CN มีค่าความแข็งผิวสูงกว่าเนื้อฟันที่ผ่านการละลายแร่ธาตุทุกระดับความลึก และสูงกว่าการบูรณะด้วย FZ ที่ระดับความลึก 20 และ 40 ไมครอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุปผลการศึกษา: วัสดุ CN สามารถปลดปล่อยไฮดรอกไซด์ ฟลูออไรด์ และแคลเซียมไอออนได้ ซึ่งส่งผลเพิ่มค่าความเป็นกรด-เบส ของสเตร็พโตคอคคัส มิวแทนส์ ไบโอฟิล์ม และค่าความแข็งผิวเนื้อฟันที่ผ่านการละลายแร่ธาตุ |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.283 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject.classification |
Dentistry |
|
dc.title |
The impact of an alkasite restorative material on the ph of a streptococcus mutans biofilm and dentin remineralization: an in vitro study |
|
dc.title.alternative |
ผลของไอออนที่ปลดปล่อยจากวัสดุอัลคาไซต์ต่อค่าความเป็นกรด-เบส ของ สเตร็พโตคอคคัส มิวแทนส์ ไบโอฟิล์ม และการคืนกลับของแร่ธาตุในเนื้อฟัน |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Operative Dentistry |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2021.283 |
|