DSpace Repository

Development of mucoadhesive polymeric nanoparticles for intranasal delivery of Favipiravir in treating SARS-CoV-2 infection

Show simple item record

dc.contributor.advisor Pornchai Rojsitthisak
dc.contributor.advisor Opa Vajragupta
dc.contributor.advisor Pranee Rojsitthisak
dc.contributor.author Khent Alcantara
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences
dc.date.accessioned 2023-02-03T05:00:04Z
dc.date.available 2023-02-03T05:00:04Z
dc.date.issued 2021
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81787
dc.description Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2021
dc.description.abstract Nanoparticles (NPs) have been used as an effective carrier for transmucosal delivery of drugs through their prolonged residence time and deposition, or the enhanced permeation through the mucosa. In this study, we aimed to design a nanocarrier using the combined mucoadhesive (M) properties of chitosan (CS) and alginate (ALG) polymers for the intranasal delivery of favipiravir (FVR) in treating SARS-CoV-2 infection. The optimized FVR-loaded mucoadhesive CS-coated ALG-NPs (FVR-MCS-ALG-NPs) rendered suitable size (233.5 nm), zeta potential (-21.6 mV), loading capacity (26.0%), and encapsulation efficiency (84.6%) for transmucosal delivery. Superior mucoadhesiveness and higher permeation and deposition in the porcine nasal mucosa of the FVR-MCS-ALG-NPs over uncoated-NPs (3-fold) and free FVR (6-fold) were observed. Both NP formulations rendered good biocompatibility in RPMI 2650 nasal epithelial cell and porcine nasal mucosa. Significant inhibition of coronavirus replication was also observed in the FVR-MCS-ALG-NPs vs free FVR (EC50 6.63 vs >230 μg/mL, respectively) suggesting a promising carrier for FVR to enhance its antiviral activity and deposition in the nasal mucosa.  
dc.description.abstractalternative อนุภาคนาโน (NPs) เป็นตัวนำส่งที่มีประสิทธิภาพสำหรับการนำส่งยาผ่านเยื่อเมือก โดยเพิ่มระยะเวลาการยึดเกาะและการสะสมบนเยื่อเมือก รวมถึงการเพิ่มความสามารถในการซึมผ่านเยื่อเมือก งานวิจัยนี้ มุ่งออกแบบตัวนำส่งอนุภาคนาโนโดยใช้คุณสมบัติการยึดเกาะเยื่อเมือก (M) ร่วมกันของไคโตซาน (CS) และอัลจิเนต (ALG) สำหรับนำส่งฟาวิพิราเวียร์ (FVR) ทางจมูกเพื่อรักษาการติดเชื้อของไวรัสซาร์ส-โควี-2 ผลการศึกษาพบว่าอนุภาคนาโนอัลจิเนตเคลือบด้วยไคโตซานที่บรรจุฟาวิพิราเวียร์ (FVR-MCS-ALG-NPs) ที่เหมาะสมสำหรับการนำส่งผ่านเยื่อเมือกมีขนาดอนุภาค 233.5 นาโนเมตร ค่าศักย์ซีต้า -21.6 มิลลิโวลต์ ความสามารถในการบรรจุ 26.0% และประสิทธิภาพการกักเก็บ 84.6% โดยพบว่า FVR-MCS-ALG-NPs มีคุณสมบัติการยึดเกาะเยื่อเมือกที่ดี  มีความสามารถในการซึมผ่านและการสะสมที่เยื่อบุจมูกของสุกรสูงกว่าอนุภาคนาโนที่ไม่เคลือบด้วยไคโตซาน (FVR-MCS-ALG-NPs) 3 เท่า และสูงกว่าฟาวิพิราเวียร์ 6 เท่า นอกจากนี้ อนุภาคนาโนที่ประกอบไปด้วยพอลิเมอร์ทั้งสองชนิดมีความเข้ากันได้ทางชีวภาพต่อเซลล์เยื่อบุผิวจมูกชนิด RPMI 2650 และต่อเยื่อบุจมูกของสุกร สำหรับประสิทธิภาพในการยับยั้งการติดเชื้อของโคโรนาไวรัสของ FVR-MCS-ALG-NPs เมื่อเทียบกับฟาวิพิราเวียร์ พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ โดยมีค่า EC50 เท่ากับ 6.63 และ >230 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ตามลำดับ บ่งชี้ถึงศักยภาพของตัวนำส่งนี้ในการเพิ่มฤทธิ์ต้านไวรัสและการสะสมในเยื่อบุจมูกของฟาวิพิราเวียร์
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.305
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject.classification Pharmacology
dc.subject.classification Materials Science
dc.title Development of mucoadhesive polymeric nanoparticles for intranasal delivery of Favipiravir in treating SARS-CoV-2 infection
dc.title.alternative การพัฒนาอนุภาคนาโนพอลิเมอร์ชนิดยึดติดเยื่อเมือกเพื่อการนำส่งฟาวิพิราเวียร์ทางจมูกสำหรับรักษาการติดเชื้อไวรัสซาร์ส-โควี-2
dc.type Thesis
dc.degree.name Doctor of Philosophy
dc.degree.level Doctoral Degree
dc.degree.discipline Pharmaceutical Sciences and Technology
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2021.305


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Pharm - Theses [1269]
    วิทยานิพนธ์ คณะเภสัชศาสตร์

Show simple item record