dc.contributor.author |
ภาวดี อังศุสิงห์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-31T06:29:18Z |
|
dc.date.available |
2023-05-31T06:29:18Z |
|
dc.date.issued |
2565-01 |
|
dc.identifier.citation |
หน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย 19,1 (ม.ค. - มิ.ย. 2565) หน้า 316-353 |
en_US |
dc.identifier.issn |
2697-3901 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82146 |
|
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมภายนอกอาคารด้วยแนวคิดชุมชนเมืองน่าอยู่ การวิจัยใช้วิธีสำรวจพื้นที่ศึกษาในกลุ่มชุมชนตัวอย่าง 6 ชุมชนในกรุงเทพมหานคร ด้วยการประเมินคุณลักษณะสภาพกายภาพพื้นที่ส่วนกลางชุมชน และการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุและผู้นำชุมชน แบ่งการประเมินสภาพแวดล้อมภายนอกอาคารของชุมชนเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านสภาพกายภาพพื้นที่ส่วนกลาง ด้านการสัญจรเชื่อมต่อ ด้านอาคารอเนกประสงค์ชุมชน และด้านการบริการผู้สูงอายุ ผลการสำรวจพบว่า ทั้ง 6 พื้นที่ศึกษามีสภาพแวดล้อมภายนอกไม่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ ด้านการมีบริการผู้สูงอายุและด้านการสัญจรเชื่อมต่อได้คะแนนค่าเฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ ผลการสัมภาษณ์พบผู้สูงอายุให้ความสำคัญกับคุณภาพพื้นที่ส่วนกลางอันดับต้น ได้แก่ สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยในการใช้งาน มีร่มเงา และมีที่นั่งเพียงพอ โดยมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ และกิจกรรมเชิงสังคมเป็นเงื่อนไขสนับสนุนในการตัดสินใจออกมาใช้พื้นที่ภายนอก ทั้งนี้ข้อจำกัดด้านงบประมาณส่งผลต่อการเตรียมสภาพแวดล้อมภายนอกให้เกิดความเหมาะสมต่อการใช้งาน |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The objective is to establish the appropriate outdoor environment with an age-friendly urban community approach. Survey research was conducted through the survey of 6 communities, the investigation of existing outdoor environment conditions, and the interview of the ageing and community leader. The results of the four characteristics investigation: outdoor physical condition, accessibility, multipurpose building, and community facilitates, showed that all of the study areas are not appropriate for ageing. The community facilities and the accessibility showed mean scores lower by the criteria of appropriate physical characteristics. The interview results also indicated that most of the ageing prefer outdoor areas where provide safety, shade and seating. Health and social activities are the supportive factors of outdoor activities. Limitation in the development of outdoor space is budget. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร |
en_US |
dc.relation.uri |
https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NAJUA/article/view/259560 |
|
dc.rights |
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร |
en_US |
dc.subject |
การพัฒนาชุมชนเมือง |
en_US |
dc.subject |
ผังเมือง |
en_US |
dc.subject |
นโยบายเมือง |
en_US |
dc.title |
สภาพแวดล้อมภายนอกอาคารที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุในชุมชนเมืองน่าอยู่กรุงเทพมหานคร |
en_US |
dc.title.alternative |
The appropriate outdoor environment for age-friendly urban community in Bangkok metropolis |
en_US |
dc.type |
Article |
en_US |