dc.contributor.author |
น้ำเพชร ชื่นแพ |
|
dc.contributor.author |
ชิตพงษ์ ตรีมาศ |
|
dc.contributor.author |
สยา ทันตะเวช |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-31T07:37:20Z |
|
dc.date.available |
2023-05-31T07:37:20Z |
|
dc.date.issued |
2565-01 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 41,1 (ม.ค. - ก.พ. 2565) หน้า 82-93 |
en_US |
dc.identifier.issn |
2672-9733 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82151 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์เพื่อพัฒนาการควบคุมชีพจรจังหวะสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย และศึกษาผลสัมฤทธิ์ของการใช้แบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบกึ่งทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1. แบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์ 2. แบบทดสอบทางด้านชีพจรจังหวะสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย 3. แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้แบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญในการวิจัยในครั้งนี้คือนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลายที่มีพื้นฐานการเรียนกีตาร์มาเป็นเวลา 3 เดือน จำนวน 5 คน และผู้เชี่ยวชาญทางด้านกีตาร์ไฟฟ้า จำนวน 7 คน การดำเนินการวิจัยประกอบด้วยการศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง พัฒนาเป็นแบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์เพื่อพัฒนาชีพจรจังหวะสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จากนั้นนำไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและสถิติเชิงบรรยาย คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยผลการวิจัยมีดังนี้ 1) แบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์เพื่อพัฒนาการควบคุมชีพจรจังหวะสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย 2) ผลของการทดลองใช้แบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์พบว่าผู้เรียนมีคะแนนจากแบบทดสอบหลังการใช้แบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p<.05 3) ผลความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใช้แบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจต่อแบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย (M) เท่ากับ 4.2 และคะแนนค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.46 |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research were as follows: 1) to develop power chord exercises on steady beat controlling for primary school students; and 2) to study the effects of those exercises. Quasi – Experimental Research was the primary methodology used, along with the following research tools; 1) power chord exercises on steady beat controlling; 2) steady beat controlling test; 3) a survey of satisfaction filled by participants. The participants consisted of five primary school students (who had been learning electric guitar for three months) and seven electric guitar experts. The process of research included reviewing literature, developing exercises, conducting experiments, collecting data, and analyzing data through content analysis, percentage, mean score and standard deviation. The findings were as follows: 1) power chord exercises were successfully developed. 2) the students knowledge post-test result is higher than pre-test result statistically at p<.05. 3) the students were satisfied after using power chord exercises. (M = 4.2 and SD = 0.46). |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
กองส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
en_US |
dc.relation.uri |
https://so03.tci-thaijo.org/index.php/humsujournal/article/view/250627 |
|
dc.rights |
กองส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
en_US |
dc.subject |
คอร์ดดนตรี |
en_US |
dc.subject |
ดนตรี |
en_US |
dc.subject |
จังหวะดนตรี |
en_US |
dc.title |
การศึกษาแบบฝึกพาวเวอร์คอร์ดออนไลน์เพื่อพัฒนาชีพจรจังหวะสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย |
en_US |
dc.title.alternative |
A study of power-chord exercises on steady beat controlling for primary school students |
en_US |
dc.type |
Article |
en_US |