dc.contributor.author |
Kunlatuch Chopchai |
|
dc.contributor.author |
Chaisiri Wanlapakorn |
|
dc.contributor.author |
Suwara Issaragrisil |
|
dc.contributor.author |
Teetouch Ananwattanasuk |
|
dc.contributor.author |
Padoemwut Teerawongsakul |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Medicine |
|
dc.date.accessioned |
2023-07-05T09:51:08Z |
|
dc.date.available |
2023-07-05T09:51:08Z |
|
dc.date.issued |
2022-03 |
|
dc.identifier.citation |
Journal of Urban Medicine 66,2 (Mar.-Apr. 2022) page 125-136 |
en_US |
dc.identifier.issn |
2822-1192 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82196 |
|
dc.description.abstract |
Objective: The purpose of this study was to examine the relationship between the Thai cardiovascular risk score (TCVRS) and the Multi-Ethnic Study of Atherosclerosis (MESA) risk score and predictors of high CAC score in Thai adults without a history of atherosclerotic cardiovascular disease.Methods: This is a cross-sectional study assessing chest computed tomography scan patients without established atherosclerotic disease in Vajira Hospital, Thailand from July to December 2018. The TCVRS, MESA, and CAC scores were analyzed to estimate coronary heart disease risk. The predictive factors for the high CAC score were assessed by using univariate and multivariable analysis. Results: The total of 84 patients were enrolled (mean age, 55.1 years and female, 65.5%), mostly zero CAC (46.4%). The correlation of TCVRS and MESA risk score was stronger than FRS and MESA risk score by r = 0.818; p<0.001 and r = 0.747; p< 0.001, respectively. The agreements were acceptable with mean difference = -0.73, SD = 0.242 and -3.78, SD = 0.539, respectively. In multivariate analysis, diabetes mellitus (odds ratio [OR]: 28.39, 95% CI:1.92-420.09; p = 0.015) and age ≥ 60 years (OR: 38.26, 95% CI:13.76-389.49; p = 0.002) were independent risk factors to predict high CAC.Conclusion: There is a strong correlation between TCVRS and MESA risk score in Thai populations, but the MESA risk score may have a lower estimated coronary heart disease risk in Thai patients, especially in patients with multiple risk factors for coronary heart disease. Diabetes mellitus was the strongest predictor of high CAC. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
วัตถุประสงค์: จุดประสงค์ของการศึกษาเพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนความเสี่ยงการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจของประชากรไทย (Thai cardiovascular risk score) เทียบกับคะแนนความเสี่ยงการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจของผู้ป่วยจากการศึกษา MESA (the Multi-Ethnic Study of Atherosclerosis) และหาปัจจัยเพื่อพยากรณ์กลุ่มผู้ป่วยคะแนนแคลเซียมในหลอดเลือดหัวใจสูงในผู้ป่วยไทยซึ่งไม่มีประวัติโรคหลอดเลือดหัวใจวิธีดำเนินการวิจัย: การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบตามขวาง ประเมินอาสาสมัครที่ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดแดงแข็ง และได้รับการตรวจภาพรังสีคอมพิวเตอร์ของหน้าอก ในคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561 วิเคราะห์คะแนนความเสี่ยงการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจของประชากรไทย, คะแนนความเสี่ยงของการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจของผู้ป่วยหลายเชื้อชาติจากการศึกษา MESA และ คะแนนแคลเซียมในหลอดเลือดหัวใจ วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงของการมีคะแนนแคลเซียมในหลอดเลือดหัวใจสูงด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลแบบตัวแปรเดียว และแบบหลายตัวแปร ผลการวิจัย: กลุ่มอาสาสมัครจำนวน 84 คน (อายุเฉลี่ย 55.1 ปี และเพศหญิงร้อยละ 65.5) ส่วนใหญ่คะแนนแคลเซียมของหลอดเลือดหัวใจเท่ากับศูนย์ (46.4%) เมื่อเทียบคะแนนความเสี่ยงการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจของประชากรไทยกับคะแนนความเสี่ยงของการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจจากการศึกษา MESA พบว่ามีความสัมพันธ์ระดับสูง และความสัมพันธ์สูงกว่า เมื่อเทียบคะแนนความเสี่ยงของการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจจากการศึกษา FHS กับการศึกษา MESA (ค่า r เท่ากับ 0.818: p <0.001 และค่า r เท่ากับ 0.747; p < 0.001 ตามลำดับ) โดยยอมรับความแตกต่างเฉลี่ยเท่ากับ -0.73, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.242 และ ความแตกต่างเฉลี่ยเท่ากับ -3.78, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.539ตามลำดับ) จากการวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงแบบหลายตัวแปรพบว่า เบาหวาน (OR: 28.39, 95% CI:1.92-420.09; p = 0.015) และอายุมากกว่า 60 ปี (OR: 38.26, 95% CI:13.76-389.49; p =0.002) เป็นปัจจัยเสี่ยงอิสระในการพยากรณ์คะแนนแคลเซียมของหลอดเลือดหัวใจระดับสูง
สรุป: คะแนนความเสี่ยงการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจของประชากรไทย และคะแนนความเสี่ยงของการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจจากการศึกษา MESA มีความสัมพันธ์กันระดับสูงในการทำนายความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจในประชากรไทย แต่คะแนนความเสี่ยงของการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจจากการศึกษา MESA อาจจะต่ำกว่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยที่มีหลายปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ เบาหวานเป็นปัจจัยพยากรณ์คะแนนแคลเซียมของหลอดเลือดหัวใจเกี่ยวข้องมากที่สุด |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
Faculty of Medicine Vajira Hospital, Navamindradhiraj University |
en_US |
dc.relation.uri |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/VMED/article/view/249392 |
|
dc.rights |
Faculty of Medicine Vajira Hospital, Navamindradhiraj University |
en_US |
dc.subject |
Coronary heart disease |
en_US |
dc.subject |
Heart -- Diseases |
en_US |
dc.subject |
Cardiovascular system -- Diseases -- Nursing |
en_US |
dc.title |
The Correlation between Thai Cardiovascular Risk Score and the Multi-Ethnic Study of Atherosclerosis (MESA) Risk Score in Thai Populations |
en_US |
dc.title.alternative |
ความสัมพันธ์ระหว่างการทำนายความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจโดยใช้คะแนนความเสี่ยงการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจของประชากรไทยและคะแนนความเสี่ยงของการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจจากการศึกษา MESA ในผู้ป่วยไทย |
en_US |
dc.type |
Article |
en_US |