dc.contributor.advisor |
Atiphan Pimkhaokham |
|
dc.contributor.author |
Paweena Yimarj |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry |
|
dc.date.accessioned |
2023-08-04T06:01:21Z |
|
dc.date.available |
2023-08-04T06:01:21Z |
|
dc.date.issued |
2019 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82428 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2019 |
|
dc.description.abstract |
Objectives: To compare the accuracy of position and parallelity of two implants, using static and dynamic CAIS systems.
Materials & Methods: 30 patients received two implants randomly allocated to 2 different CAIS systems. Optimal implant position and absolute parallelity was planned based on preoperative CBCT. Implants were placed using surgical guide (static CAIS, n = 15) and real time navigation (dynamic CAIS, n = 15). Implant 3-dimentional deviation and parallelity was calculated after surgery.
Results: The mean deviation at implant platform, apex and angulation in the static and dynamic CAIS group was 1.04 ± 0.67 mm, 1.54 ± 0.79 mm, 4.08 ± 1.69 degree and 1.24 ± 0.39 mm, 1.58 ± 0.56 mm, 3.78 ± 1.84 degree respectively. The parallelity achieved between two placed implants in static and dynamic CAIS groups were 4.32 ± 2.44 degrees and 3.55 ± 2.29 degrees respectively. There were no significant differences in all parameters between two groups.
Conclusions: Static and dynamic CAIS provides similar accuracy of the 3d implant position and parallelity between two implants. |
|
dc.description.abstractalternative |
วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความแม่นยำของตำแหน่งรากฟันเทียมระหว่างการใช้วิธีคอมพิวเตอร์ช่วยแบบสถิตและแบบพลวัต ในผู้ป่วยที่ต้องการรากฟันเทียมสองรากเพื่อรองรับฟันปลอมบางส่วนชนิดติดแน่น
วัสดุและวิธีการ: รากฟันเทียมจำนวน 60 ซี่ ในผู้ป่วย 30 คนที่ต้องการรากฟันเทียมสองรากเพื่อรองรับฟันปลอมบางส่วนชนิดติดแน่น ด้วยวิธีคอมพิวเตอร์ช่วย 2 ระบบคือวิธีคอมพิวเตอร์ช่วยแบบสถิต (n = 30) โดยการใช้แผ่นนำการผ่าตัดในการฝังรากฟันเทียมและระบบที่ 2 ด้วยวิธีคอมพิวเตอร์ช่วยแบบพลวัต (n = 30) ที่เป็นระบบนำทางผ่าตัด หลังจากฝังรากฟันเทียมจะทำการถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์แบบโคนบีมและนำมาเข้าซอฟต์แวร์เพื่อวัดความคลาดเคลื่อนของตำแหน่งรากฟันเทียมที่ฝังได้กับตำแหน่งที่วางแผนไว้ ผลลัพธ์หลักคือค่าความคลาดเคลื่อนที่ตำแหน่งขอบบนของรากฟันเทียม, ปลายรากฟันเทียม และความคลาดเคลื่อนเชิงมุม และผลลัพธ์รองคือความขนานกันของรากฟันเทียมสองรากในรูปของความคลาดเคลื่อนเชิงมุม
ผลการศึกษา: ความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยที่ตำแหน่งขอบบนของรากฟันเทียมและปลายรากฟันเทียมในกลุ่มที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยแบบสถิตคือ 1.04±0.71 มม. และ 1.51±0.86 มม. ตามลำดับ ความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยที่ตำแหน่งขอบบนของรากฟันเทียมและปลายรากฟันเทียมในกลุ่มที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยแบบพลวัตคือ 1.24±0.62 มม. และ 1.58 ± 0.77 มม. ตามลำดับ ความคลาดเคลื่อนเชิงมุมและความขนานกันของรากฟันเทียมสองรากในกลุ่มที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยแบบสถิตคือ 4.05±2.06 องศา และ 4.32±2.44 องศา ในกลุ่มที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยแบบพลวัตคือ 3.78±2.38 องศาและ 3.55±2.29 องศา ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของทั้งสองกลุ่ม
สรุปผลการศึกษา: การฝังรากฟันเทียมโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยแบบสถิตและแบบพลวัตให้ความแม่นยำเทียบเท่ากัน ในผู้ป่วยที่มีช่องว่างไร้ฟันบางส่วนที่ต้องการรากฟันเทียมสองรากเพื่อรองรับฟันปลอมบางส่วนชนิดติดแน่น |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.382 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.title |
Comparison the accuracy of implant position between static and dynamic computer-assisted implant surgery with two-implant support fixed partial prosthesis |
|
dc.title.alternative |
การเปรียบเทียบความแม่นยำของตำแหน่งรากฟันเทียมระหว่างการฝังรากฟันเทียมด้วยวิธีคอมพิวเตอร์ช่วยแบบสถิตและแบบพลวัตโดยใช้รากฟันเทียมสองรากเพื่อรองรับฟันปลอมบางส่วนชนิดติดแน่น |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Oral and Maxillofacial Surgery |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2019.382 |
|