dc.contributor.advisor |
Napplika Kongpolprom |
|
dc.contributor.author |
Napat Jirawat |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Medicine |
|
dc.date.accessioned |
2023-08-04T06:08:22Z |
|
dc.date.available |
2023-08-04T06:08:22Z |
|
dc.date.issued |
2022 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82526 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2022 |
|
dc.description.abstract |
Background: Post-extubation respiratory failure is a common complication in planned extubated patients, which increases mortality, particularly in high-risk patients. Noninvasive ventilation (NIV) with a facemask effectively prevents post-extubation respiratory failure, but helmet NIV use immediately after extubation is still unproven.
Objective: To compare the success rates of extubation with prophylactic helmet NIV and facemask NIV in the first 48 hours in patients at high risk of developing post-extubation respiratory failure.
Methods: The study was a single-center randomized controlled trial. The data were analyzed for 114 patients at high risk of extubation failure between June 2022 and June 2023. Patients were randomly assigned to either helmet NIV or facemask NIV for 24 hours after extubation. The primary outcome was successful extubation within the first 48 hours. Secondary outcomes included the rate of reintubation within seven days, the rate of NIV intolerance, complications, comfort score, and hemodynamic and gas exchange parameters during the study period.
Results: During the study, 114 patients met the inclusion criteria and were randomly assigned to one of the two groups: facemask NIV or helmet NIV. There were no statistically significant differences in baseline characteristics, including underlying diseases, severity scores, and baseline hemodynamic and gas exchange parameters. The extubation success rate was similar in both groups: 85.96% in the helmet group and 87.72% in the facemask NIV (p = 0.782). In helmet NIV, pressure support and PEEP level were higher than in facemask NIV (12.28±2.23 versus 8.58±2.05, p <0.001, 6.14±1.42 versus 5.54±1.18, p = 0.016). Compared with facemask NIV, helmet NIV had lower air leakage from baseline to 24 hours after extubation (p <0.001). The helmet group had a significantly higher rate of NIV intolerance than the control group (75.44% versus 21.05%, p <0.001). There were no intergroup differences in the reintubation rate within seven days and gas exchanges, including pH, PaO2/FiO2, and PaCO2. Compared with the facemask NIV, the adverse events, namely pressure sore and asynchrony, were lower in the helmet group, but the noise was higher (p <0.001).
Conclusion: The success rates of extubation in mechanically ventilated patients at high risk of extubation failure did not differ between helmet NIV and facemask NIV. |
|
dc.description.abstractalternative |
ความเป็นมา: ภาวะการหายใจล้มเหลวซ้ำหลังจากถอดท่อช่วยหายใจเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยในหอผู้ป่วยวิกฤตนำมาซึ่งอัตราการเสียชีวิตที่สูงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง การช่วยหายใจโดยไม่ต้องใส่ท่อช่วยหายใจมีบทบาทสำคัญในการป้องกันภาวะดังกล่าว โดยอุปกรณ์ที่ใช้เป็นหน้ากากชนิดครอบจมูกและปากเป็นหลัก ส่วนอุปกรณ์ที่เป็นแรงดันบวกแบบครอบทั้งศีรษะยังไม่มีข้อมูลชัดเจน
วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินอัตราการถอดท่อช่วยหายใจสำเร็จภายใน 48ชั่วโมงแรกในกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะการหายใจล้มเหลวซ้ำหลังการถอดท่อช่วยหายใจ เปรียบเทียบระหว่างอุปกรณ์แรงดันบวกครอบทั้งศีรษะและอุปกรณ์แรงดันบวกผ่านทางหน้ากากชนิดครอบจมูกและปาก
รูปแบบการวิจัย: เป็นการศึกษาแบบสุ่มที่มีกลุ่มควบคุมโดยเปรียบเทียบ ผู้ป่วยทั้งหมด 114คนในกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะการหายใจล้มเหลวซ้ำหลังการถอดท่อช่วยหายใจ ช่วง เดือน มิถุนายน 2565 ถึง มิถุนายน 2566 โดยผู้ป่วยได้รับการแบ่งสุ่มเลือกใส่อุปกรณ์หลังจากถอดท่อช่วยหายใจทันทีระหว่างอุปกรณ์แรงดันบวกครอบทั้งศีรษะหรืออุปกรณ์แรงดันบวกผ่านทางหน้ากากชนิดครอบจมูกและปาก ระยะเวลา 24ชั่วโมงแรก โดยผลการศึกษาหลักคืออัตราการถอดท่อช่วยหายใจสำเร็จภายใน 48ชั่วโมงแรก ผลการศึกษารองประกอบด้วยการใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำภายใน 7วัน, อัตราต่อการทนอุปกรณ์แรงดันบวกไม่ได้, ภาวะแทรกซ้อนหลังจากใช้อุปกรณ์แรงดันบวกทั้ง 2ชนิด, คะแนนความสบาย, พารามิเตอร์ของสัญญาณชีพและอัตราการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างการศึกษา
ผลการศึกษา: จากผู้ป่วยการศึกษาทั้งหมด 114คน พบว่าไม่มีความแตกต่างกันระหว่างลักษณะพื้นฐานของ 2กลุ่ม ซึ่งได้แก่ โรคประจำตัว, คะแนนความรุนแรงของโรครวมไปถึงพารามิเตอร์ของสัญญาณชีพและการแลกเปลี่ยนแก๊สตั้งต้น อัตราการถอดท่อช่วยหายใจสำเร็จไม่แตกต่างกันระหว่าง 2กลุ่ม โดย 85.96% ในอุปกรณ์แรงดันบวกครอบทั้งศีรษะและ 87.72% ในอุปกรณ์แรงดันบวกผ่านทางหน้ากากชนิดครอบจมูกและปาก (p = 0.782) โดยในอุปกรณ์แรงดันบวกครอบทั้งศีรษะพบการใช้แรงดันและแรงดันบวกระยะสิ้นสุดหารหายใจออกที่มากกว่าอุปกรณ์แรงดันบวกผ่านทางหน้ากากชนิดครอบจมูกและปากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (12.28±2.23 และ 8.58±2.05, p <0.001, 6.14±1.42 และ 5.54±1.18, p = 0.016) โดยหากเปรียบเทียบภาวะลมรั่ว อุปกรณ์แรงดันบวกครอบทั้งศีรษะมีลมรั่วที่น้อยกว่าอุปกรณ์แรงดันบวกผ่านทางหน้ากากชนิดครอบจมูกและปาก (p <0.001) พบอัตราการทนต่ออุปกรณ์แรงดันบวกไม่ได้ในอุปกรณ์แรงดันบวกครอบทั้งศีรษะมากกว่าอุปกรณ์แรงดันบวกผ่านทางหน้ากากชนิดครอบจมูกและปาก (75.44% และ 21.05%, p <0.001) ส่วนอัตราการใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำภายใน7วันรวมถึงผลของอัตราการแลกเปลี่ยนแก๊ส ไม่ได้มีความแตกต่างกันระหว่าง 2กลุ่ม ส่วนภาวะแทรกซ้อน พบว่าแผลกดทับและไม่การสัมพันธ์ของเครื่องช่วยหายใจพบน้อยในอุปกรณ์แรงดันบวกไม่ได้ในอุปกรณ์แรงดันบวกครอบทั้งศีรษะ แต่พบภาวะเสียงดังมากกว่า
สรุป: อัตราการถอดท่อช่วยหายใจสำเร็จในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะการหายใจล้มเหลวซ้ำหลังการถอดท่อช่วยหายใจ ไม่ได้แตกต่างกันระหว่างอุปกรณ์แรงดันบวกครอบทั้งศีรษะและอุปกรณ์แรงดันบวกผ่านทางหน้ากากชนิดครอบจมูกและปาก |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.250 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject.classification |
Medicine |
|
dc.subject.classification |
Education |
|
dc.subject.classification |
Medicine |
|
dc.title |
Comparison of Extubation Success between Prophylactic Helmet NIV and Facemask NIV in High Risk Postextubation Patients;A Randomized Controlled Trial |
|
dc.title.alternative |
การศึกษาแบบสุ่มเปรียบเทียบระหว่างการใช้อุปกรณ์แรงดันบวกครอบทั้งศีรษะและอุปกรณ์แรงดันบวกโดยผ่านทางหน้ากากชนิดครอบจมูกและปากต่ออัตราการถอดท่อช่วยหายใจสำเร็จในกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำ |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Medicine |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2022.250 |
|