dc.contributor.advisor |
ณัฐพล อัสสะรัตน์ |
|
dc.contributor.author |
เอกธนัช โตงิ้ว |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี |
|
dc.date.accessioned |
2023-08-04T06:41:27Z |
|
dc.date.available |
2023-08-04T06:41:27Z |
|
dc.date.issued |
2565 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82721 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565 |
|
dc.description.abstract |
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยอ้างอิงทฤษฎีของพฤติกรรมตามแผน (Theory of Planned Behavior) เพื่อทำนายแนวโน้มการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภคในประเทศไทย และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบจำลองสมการโครงสร้าง (Structural Equation Model) ผลการวิจัยพบว่า ความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญต่อฉลากเพื่อสิ่งแวดล้อมและความไว้วางใจของผู้บริโภค แสดงให้เห็นว่าต้องมีความรู้และความเข้าใจเพื่อที่จะส่งผลให้ฉลากเพื่อสิ่งแวดล้อมถูกใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความน่าเชื่อถือในข้อมูลที่นำเสนอ นอกจากนี้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมยังมีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญต่อทัศนคตติของผู้บริโภค ซึ่งทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจในการซื้อที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จึงแสดงให้เห็นว่าความรู้มีอิทธิพลอย่างมากต่อทัศนคติที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของแต่ละคนเพื่อก่อให้เกิดความตั้งใจใจการซื้อของผู้บริโภค |
|
dc.description.abstractalternative |
This study aims to examine the factors influencing environmentally friendly product purchase intention. Based on theory of planned behavior (TPB), environmentally friendly product purchase intention among consumers in Thailand was examined. Structural equation modeling (SEM) was applied in data analysis. The findings indicate that environmental knowledge has a significant positive effect on environmental labels and consumer trust. This demonstrates that knowledge and understanding are essential for effective and trustworthy utilization of environmental labels. Additionally, environmental knowledge has a significant positive relationship with consumer attitudes, which in turn have a positive influence on environmentally friendly purchase intention. These results highlight the importance of knowledge in shaping individuals' environmentally friendly attitudes, thereby influencing their purchase intentions as consumers. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.673 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject.classification |
Business |
|
dc.subject.classification |
Information and communication |
|
dc.subject.classification |
Marketing and advertising |
|
dc.title |
การสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ทางสิ่งแวดล้อมและความตั้งใจซื้อของผู้บริโภคในการซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม |
|
dc.title.alternative |
Examining the relationship between environmental knowledge and consumers' green buying intentions |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
บริหารธุรกิจ |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2022.673 |
|