dc.contributor.advisor |
Fuangfa Unob |
|
dc.contributor.advisor |
Narong Praphairaksit |
|
dc.contributor.author |
Lalitphan Hongtanee |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Sciences |
|
dc.date.accessioned |
2023-08-04T07:08:59Z |
|
dc.date.available |
2023-08-04T07:08:59Z |
|
dc.date.issued |
2022 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82900 |
|
dc.description |
Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2022 |
|
dc.description.abstract |
Novel approaches were developed for the colorimetric detection of norfloxacin and ceftazidime using chemically modified polymer resin and cotton sponge as sensing materials, respectively. For norfloxacin detection, the optimum condition was achieved by using a resin modified with 6.0 µM Congo red at pH 6 to extract norfloxacin in 10 mL of sample at pH 2. The reaction was completed within 15 minutes. Regarding ceftazidime detection, a cotton sponge functionalized with polyethyleneimine (PEI) was fabricated and characterized by FTIR, SEM, and ninhydrin test. To fabricate the PEI-sponge, 170 mM 3-aminopropyl triethoxysilane (APTES) was used to modify 1.0 g cotton fibers and 210 µM PEI for grafting on 0.5 g of APTES-sponges. The colorimetric detection of ceftazidime based on the azo dye formation on the sponge surface was achieved by using a reagent mixture containing 0.5 M HCl, 30 mM NaNO2, and 25 µM chromotropic acid. Under optimized conditions, the methods provide a linear range from 0 – 1.5 mg L-1 and 0.5 – 3.0 mg L-1 for norfloxacin and ceftazidime determination, respectively. The limit of detection of norfloxacin and ceftazidime was found to be 0.23 mg L-1 and 0.06 mg L-1, respectively. The methods were applied to detect norfloxacin and ceftazidime in spiked water samples with recoveries ranging from 90 – 106% and 83 – 103%, respectively, and % RSD lower than 10.53%. |
|
dc.description.abstractalternative |
วิธีการใหม่ได้ถูกพัฒนาขึ้นสำหรับการตรวจวัดเชิงสีของนอร์ฟลอกซาซินและเซฟตาซิดิมโดยใช้เรซินพอลิเมอร์และฟองน้ำใยสำลีที่ถูกดัดแปรทางเคมีเป็นวัสดุตรวจวัด ตามลำดับ สำหรับการตรวจวัดนอร์ฟลอกซาซิน สภาวะที่เหมาะสมได้จากการดัดแปรเรซินพอลิเมอร์ด้วยคองโกเรดเข้มข้น 6.0 ไมโครโมลาร์ ที่พีเอช 6 เพื่อใช้ในการสกัดนอร์ฟลอกซาซินในตัวอย่างปริมาตร 10 มิลลิลิตร ที่พีเอช 2 ปฏิกิริยาเกิดขึ้นสมบูรณ์ภายใน 15 นาที ในส่วนของการตรวจวัดเซฟตาซิดิมได้ทำการเตรียมฟองน้ำจากสำลีที่ดัดแปรด้วยโพลีเอทีลีนอิมมีนและทำการพิสูจน์เอกลักษณ์ด้วยเทคนิคเอฟทีไออาร์ เอสอีเอ็ม และการทดสอบด้วยนินไฮดริน ในการเตรียมฟองน้ำที่ดัดแปรด้วยโพลีเอทีลีนอิมมีน ทำการดัดแปรเส้นใยสำลีโดยใช้ 3-อะมิโนโพรพิลไตรเอทอกซีไซเลนเข้มข้น 170 มิลลิโมลาร์ต่อการดัดแปรเส้นใยสำลี 1 กรัม และใช้โพลีเอทีลีนอิมมีนเข้มข้น 210 ไมโครโมลาร์ต่อการกราฟต์ฟองน้ำที่ผ่านการดัดแปรด้วย 3-อะมิโนโพรพิลไตรเอทอกซีไซเลน 0.5 กรัม ซึ่งการตรวจวัดเชิงสีของเซฟตาซิดิมอาศัยการเกิดสีย้อมเอโซบนพื้นผิวของฟองน้ำสามารถเกิดขึ้นได้โดยใช้สารละลายผสมของกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.5 โมลาร์ โซเดียมไนไตรท์เข้มข้น 30 มิลลิโมลาร์ และกรดโครโมโทรปิกเข้มข้น 25 ไมโครโมลาร์ ภายใต้สภาวะที่เหมาะสมวิธีการนี้ให้ค่าความเป็นเส้นตรงในช่วง 0 ถึง 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 0.5 ถึง 3.0 มิลลิกรัมต่อลิตรสำหรับการตรวจวัดนอร์ฟลอกซาซินและเซฟตาซิดิม ตามลำดับ ขีดจำกัดในการตรวจวัดของนอร์ฟลอกซาซินและเซฟตาซิดิม คือ 0.23 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 0.06 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ ได้นำวิธีการนี้ไปใช้ในการตรวจวัดนอร์ฟลอกซาซินและเซฟตาซิดิมในน้ำตัวอย่างที่เติมสารมาตรฐาน ซึ่งได้ร้อยละการได้กลับคืนอยู่ในช่วง 90 – 106 และ 83 – 103 ตามลำดับ และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์ต่ำกว่าร้อยละ 10.53 |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.72 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.title |
Colorimetric detection of norfloxacin and ceftazidime by modified materials |
|
dc.title.alternative |
การตรวจวัดเชิงสีของนอร์ฟลอกซาซินและเซฟตาซิดิมด้วยวัสดุดัดแปร |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Doctor of Philosophy |
|
dc.degree.level |
Doctoral Degree |
|
dc.degree.discipline |
Chemistry |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2022.72 |
|