dc.contributor.advisor |
Chanat Aonbangkhen |
|
dc.contributor.author |
Theeranuch Jaroenchuensiri |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Sciences |
|
dc.date.accessioned |
2023-08-04T07:10:17Z |
|
dc.date.available |
2023-08-04T07:10:17Z |
|
dc.date.issued |
2022 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82974 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2022 |
|
dc.description.abstract |
Oxidative stress, resulting from an imbalance between reactive oxygen species (ROS) and antioxidants, contributes to diseases and induces endoplasmic reticulum (ER) stress. Antioxidants can mitigate ER stress. We investigated synthetic peptides from riceberry rice hydrolysates against ER stress. Ten peptides were evaluated for toxicity and antioxidant activity in SH-SY5Y and L929 cell lines. Peptides ID 3 to ID 5 ,and ID 10 showed significant antioxidant activity protecting cells from oxidative stress induced by IAA and H2O2. These peptides alleviated ER stress induced by TM, as observed through fluorescence microscopy analysis using ConA dye. Peptides ID 3 to 5 reduced ConA intensity compared to TM-treated cells, indicating their potential in reducing ER stress. Peptide ID 3 and ID 4 exhibited higher Mag-Fluo4 intensity compared to TM group, signifying its role in controlling calcium ion levels and potentially reducing ER stress. Statistical analysis confirmed significant differences (p<0.05). These findings highlight the antioxidant and ER stress-reducing potential of riceberry peptides, particularly ID 3 and 4. Further investigations are needed to understand their mechanisms and therapeutic applications for managing oxidative- and ER stress-related diseases. |
|
dc.description.abstractalternative |
ภาวะเครียดทางออกซิเดชันมีสาเหตุจากการเสียสมดุลระหว่างสารอนุมูลอิสระและสารต้านอนุมูลอิสระซึ่งเป็นปัจจัยในการเกิดโรคต่าง ๆ สารต้านอนุมูลอิสระทางชีวภาพมีความน่าสนใจ ซึ่งอาจมีฤทธิ์ในการยับยั้งการเกิดความเครียดในเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม (ER stress) ในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาผลของเพปไทด์จากข้าวไรซ์เบอร์รี่ต่อการลด ER stress ภายในเซลล์ เพปไทด์จากข้าวไรซ์เบอร์รี่ทั้ง 10 ชนิดได้รับการทดสอบความเป็นพิษกับเซลล์ L929 และ SH-SY5Y และพบว่าเพปไทด์ทั้งหมดปลอดภัยในการใช้ทดลองกับเซลล์ทั้งสองชนิด อีกทั้งเพปไทด์หมายเลข 3 ถึง 5 และ 10 สามารถปกป้องเซลล์จากภาวะเครียดทางออซิเดชันที่ถูกกระตุ้นจาก กรดไอโอโดอะซิติก (IAA) และ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) นอกจากนี้เพปไทด์ดังกล่าวยังมีคุณสมบัติในการบรรเทาสภาวะ ER stress ในเซลล์ที่ถูกกระตุ้นด้วย tunicamycin (TM) ด้วยการวิเคราะห์ด้วยกล้องกล้องจุลทรรศน์ฟลูออเรสเซนซ์โดยใช้ ConA และ Mag-Fluo4 ในการย้อมเซลล์ ผลการทดลองแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ของเพปไทด์ของเพปไทด์ในการบรรเทาการเกิด ER stress โดยทำการเปรียบเทียบผลของรูปถ่ายเทียบกับกลุ่มการทดลองของเซลล์ที่ถูกกระตุ้นความเครียดด้วย TM เท่านั้น ผลการทดลองแสดงให้เห็นถึงศักยภาพในการบรรเทาความเครียดใน ER ของเพปไทด์หมายเลข 3 ถึง 5 สามารถลดความเข้มสัญญาณของ ConA และ หมายเลข 3 และ4 มีความเข้มของ Mag-Fluo4 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มทดลอง (TM group) แสดงให้เห็นถึงความสามารถของเพปไทด์หมายเลข 3 และ 4 ในการลดการเกิด ER stress การวิเคราะห์สถิติโดยใช้ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ในการยืนยันถึงความแตกต่างที่มีนัยสำคัญ (p<0.05) งานวิจัยนี้ประสบความสำเร็จในการค้นหาเพปไทด์จากข้าวไรซ์เบอร์รี่ที่มีแนวโน้มในการบรรเทาความเครียดใน ER โดยเฉพาะเพปไทด์ 3 และ 4 ที่ควรค่าต่อการศึกษาเพิ่มเติมด้วยวิธีทางอื่นเพื่อยืนยันผลความสามารถดังกล่าว และนำไปประยุกต์ทดลองในสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษากับโรคที่เกี่ยวข้องกับ ER stress |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.184 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject.classification |
Chemistry |
|
dc.subject.classification |
Human health and social work activities |
|
dc.title |
Effect of peptide hydrolysates from riceberry on reducing endoplasmic reticulum stress in cells |
|
dc.title.alternative |
ผลของเพปไทด์ไฮโดรไลเซตจากข้าวไรซ์เบอร์รี่ต่อการลดความเครียดของเอนโดพลาสมิกเรติคูลัมในเซลล์ |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Green Chemistry and Sustainability |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2022.184 |
|