dc.contributor.author |
พสุ แก้วปลั่ง |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2008-10-14T07:12:47Z |
|
dc.date.available |
2008-10-14T07:12:47Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8298 |
|
dc.description.abstract |
โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาการใช้เทคนิค Distributed Raman Amplification (DRA) ในการขยายสัญญาณโซลิตอนแสงเพื่อทำให้โซลิตอนแสงเข้าสู่ความเป็นอุดมคติซึ่งหมายถึงโซลิตอนแสงซึ่งเดินทางในเส้นใยแสงซึ่งไม่มีอัตราการสูญเสียพลังงาน การศึกษานี้จะใช้วิธีการจำลองทางคณิตศาสตร์ซึ่งจะให้ผลการศึกษาถูกต้องกว่ารายงานวิจัยที่ได้มีการรายงานและถูกอ้างอิงอย่างกว้างขวางมาก่อนหน้านี้ ในโครงการวิจัยนี้ อัตราการขยายของ DRA ที่ต้องการจะถูกออกแบบอย่างถูกต้องโดยการแก้ระบบสมการของ DRA โดยวิธีการเชิงเลข ซึ่งจะสามารถคิดรวมผลของการสูญเสียกำลังงานของ Pump laser และสัญญาณโซลิตอนในขณะที่อยู่ในกระบวนการถ่ายเทพลังงานได้ จากผลที่ได้รับจากการวิจัย พบว่าการขยายสัญญาณโซลิตอนโดยวิธี DRA นั้น เป็นกระบวนการแบบ Non-Adiabatic เท่านั้น ดังนั้น การขยายสัญญาณโซลิตอนโดย DRA นั้นจึงให้ผลเหมือนกับการาขยายโซลิตอนโดยใช้วิธี Lump amplification ซึ่งอัตราส่วนระหว่างคาบของการขยายและคาบโซลิตอนมีผลเด่นชัดในการจำกัดระยะทางที่จะสามารถสื่อสัญญาณได้ อย่างไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบการขยายสัญญาณโซลิตอนด้วยวิธี DRA กับวิธี Lump amplification แล้ว ที่อัตราส่วนระหว่างคาบของการขยายและคาบโซลิตอนเท่ากัน ผลของการจำลองทางคณิตศาสตร์แสดงให้เห็นว่าการใช้เทคนิค DRA ในการขยายสัญญาณโซลิตอน ทำให้โซลิตอนเข้าใกล้ความเป็นอุดมคติคล้ายกับเดินทางบนเส้นใยแสงซึ่งไม่มีอัตราการสูญเสียกว่าการใช้ EDFA เนื่องมาจาก DRA ช่วยลดการเปลี่ยนแปลงพลังงานของโซลิตอนในช่วงการขยายสัญญาณ ทำให้เกิด Dispersive wave หลุดออกจากสัญญาณโซลิตอนปริมาณไม่มากนัก นอกจากนี้ยังเป็นเพราะ DRA สร้างสัญญาณรบกวนปริมาณที่น้อยกว่าวิธี Lump amplification จึงมีผลทำให้สัญญาณโซลิตอนที่ถูกขยายด้วย DRA จะสามารถสื่อสัญญาณไปได้ไกลกว่า |
en |
dc.description.abstractalternative |
Optical soliton, amplified by he distributed Raman amplification (DRA), is numerically studied using more accurate method than previous works. In our work, the DRA gain is actually designed by numerically solving the DRA equations, which include both the pump depletion and the soliton depletion. Our results predict that only the non-adiabatic region exists for the soliton amplification by DRA. The soliton behavior in the chain of DRA is found to be identical to the soliton amplification using the lump amplification. Where the ratio amplifier span and the soliton period plays a dominant role in limiting the transmission distance. However, comparing to the lump amplification at the same ratio of the amplifier span and the soliton, our simulation results demonstrate that better transmission result is achieved by the DRA than the lump amplification due to smaller soliton power fluctuation that helps reducing the dispersive wave radiated from the soliton signal, as well as smaller amount of generated amplifier noise. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช |
en |
dc.format.extent |
3168505 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
การสื่อสารด้วยแสง |
|
dc.subject |
ปรากฏการณ์รามาน |
|
dc.subject |
เส้นใยนำแสง |
|
dc.title |
การศึกษาการสื่อสัญญาณโซลิตอนแสงอุดมคติในเส้นใยแสงที่มีอัตราสูญเสียกำลังให้มีขึ้นจริงโดยวิธีขยายกำลังแบบแจกแจงผ่านปรากฎการณ์รามานโดยการจำลองทางคณิตศาสตร์ : รายงานผลการวิจัย |
en |
dc.title |
|
|
dc.title.alternative |
A simulation study on realization of ideal optical soliton transmission in lossy optical fiber by distributed Raman Amplification |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
Pasu.K@Chula.ac.th |
|