DSpace Repository

การเปรียบเทียบต้นทุนการนำเข้าแผ่นยาง ระหว่างเทอมการซื้อขาย FOB และ CIF

Show simple item record

dc.contributor.advisor กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ
dc.contributor.author ยุจชรีย์ จันทร์มีศรี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2023-08-29T00:58:38Z
dc.date.available 2023-08-29T00:58:38Z
dc.date.issued 2565
dc.identifier.uri https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83489
dc.description สารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565 en_US
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงวิธีการลดต้นทุนการนำเข้าแผ่นยางจากประเทศจีนด้วยวิธีการเปลี่ยน Incoterm จาก FOB เป็น CIF โดยการศึกษาวิจัยนี้แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ การวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนรวมโลจิสติกส์ในการนำเข้าสินค้าระหว่างเทอม FOB และ CIF โดยใช้การศึกษาและเก็บข้อมูลต้นทุนรวมโลจิสติกส์ รวมไปถึงการจำลองสถานการณ์เปรียบเทียบ ค่าขนส่งสินค้า 3 กรณีคือ กรณีที่ค่าขนส่งสินค้าเป็นแบบ Best Case FOB เปรียบเทียบกับ CIF, กรณี Worst Case FOB เปรียบเทียบกับ CIF และ Best Case FOB เปรียบเทียบกับ Worst case FOB ส่วนที่สองผู้วิจัยใช้วิธีการกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (Analytical Hierarchy Process) เพื่อมาวิเคราะห์ปัจจัยในการคัดเลือก Incoterm ในการนำเข้าสินค้าระหว่าง FOB และ CIF โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ผลการศึกษาพบว่า การนำเข้าสินค้าด้วยเทอม FOB มีต้นทุนรวมโลจิสติกส์ที่ต่ำกว่า CIF อยู่ที่ 13% ในส่วนของการจำลองสถานการณ์ค่าขนส่งสินค้าสินค้า 3 แบบพบว่า กรณี Best case FOB เปรียบเทียบกับ CIF พบว่า Best Case FOB มีต้นทุนค่าขนส่งสินค้าที่ต่ำกว่า, กรณี Worst Case FOB เปรียบเทียบกับ CIF พบว่า Worst Case FOB มีต้นทุนค่าขนส่งสินค้าที่สูงกว่า และ กรณี Best Case FOB เปรียบเทียบกับ Worst Case FOB พบว่า Best Case FOB มีต้นทุนค่า ขนส่งสินค้าที่ต่ำกว่า ในส่วนของการวิเคราะห์ปัจจัยเพื่อคัดเลือก Incoterm นั้นปัจจัยหลักที่สำคัญ ที่สุดในการคัดเลือก Incoterm คือ ปัจจัยด้านต้นทุน รองลงมาคือปัจจัยด้านเวลา ปัจจัยด้าน คุณภาพ และกระบวนการดำเนินงานเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญน้อยที่สุด สำหรับทางเลือกในการ เลือก Incoterm โดยที่ Incoterm FOB เป็น Incoterm ที่ผู้เชี่ยวชาญให้คะแนนความสำคัญมากที่สุด en_US
dc.description.abstractalternative The objective of this research study is to examine methods for reducing the cost of importing rubber sheets from China by changing the Incoterm from FOB to CIF. The research study is divided into two parts: analyzing the logistics cost of importing between the FOB and CIF terms, and conducting a simulation to compare the Transportation costs in three scenarios: Best Case FOB compared with CIF, Worst Case FOB compared with CIF, and Best Case FOB compared with Worst Case FOB. The second part of the study involves the use of the AHP to analyze the factors in selecting the Incoterm for importing Rubber sheet between FOB and CIF, using a questionnaire as a tool to collect data from three experts in the field. The study found that importing goods using FOB term had a logistics cost lower than CIF by 13%. In terms of simulating the transportation cost, three scenarios were considered. Firstly, Best Case FOB comparing to CIF, it was found that FOB had lower transportation costs. Secondly, Worst Case FOB comparing to CIF, it was found that FOB had higher transportation costs. Lastly, the comparison between the Best and Worst case of FOB, it was found that FOB in the Best Case had lower transportation costs. Regarding the analysis of factors for selecting the incoterm, cost was identified as the most important factor. Therefore, when selecting an Incoterm, FOB is the most highly rated by experts. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2022.211
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ยาง -- การนำเข้า en_US
dc.subject ต้นทุน en_US
dc.subject การบริหารงานโลจิสติกส์ en_US
dc.subject Rubber en_US
dc.subject Costs en_US
dc.subject Business logistics en_US
dc.title การเปรียบเทียบต้นทุนการนำเข้าแผ่นยาง ระหว่างเทอมการซื้อขาย FOB และ CIF en_US
dc.title.alternative Cost comparative study of import rubber sheet between incoterm : FOB and CIF en_US
dc.type Independent Study en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.IS.2022.211


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Grad - Independent Studies [269]
    สารนิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย ตั้งแต่ปีการศึกษา 2562 เป็นต้นไป

Show simple item record