dc.contributor.author |
ชนัดดา มะโนสร |
|
dc.contributor.author |
สลา สามิภักดิ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-01T03:48:31Z |
|
dc.date.available |
2023-09-01T03:48:31Z |
|
dc.date.issued |
2565-04 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 24,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2565) หน้า 75-84 |
en_US |
dc.identifier.issn |
2586-9345 (Online) |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83502 |
|
dc.description.abstract |
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นประเด็นที่ท้าทายสังคมปัจจุบัน พลเมืองโลกจำเป็นต้องก้าวไปข้างหน้าพร้อมกับความรู้ความเข้าใจที่ถ่องแท้ถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ งานวิจัยนี้มุ่งพัฒนาการรู้สภาพภูมิอากาศของนักเรียนในระดับมีความรู้สึกร่วมกับสถานการณ์สภาพภูมิอากาศโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบสอบร่วมกับการใช้เกม ตัวอย่างในการวิจัยคือนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 33 คน ในโรงเรียนรัฐบาลแห่งหนึ่งของจังหวัดน่านที่มีบริบทชุมชนเปราะบางทางการเกษตร ซึ่งได้จากการเลือกแบบเจาะจง เพื่อรับการจัดการเรียนรู้เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ งานวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้นเก็บข้อมูลการรู้สภาพภูมิอากาศจากแบบวัดความเข้าใจสภาพภูมิอากาศและแบบวัดความตระหนักต่อสภาพภูมิอากาศในอัตราส่วน 1:1 เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยจากสถิติทดสอบทีแบบไม่อิสระในการศึกษาผลของการใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสอบร่วมกับการใช้เกม ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนมีร้อยละของคะแนนเฉลี่ยและระดับการรู้สภาพภูมิอากาศหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงให้เห็นว่าการจัดการเรียนรู้แบบสืบสอบร่วมกับการใช้เกมสามารถพัฒนาการรู้สภาพภูมิอากาศของนักเรียนได้ โดยการยกตัวอย่างในกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบสืบสอบร่วมกับการใช้เกมควรคำนึงถึงบริบทของชุมชนที่นักเรียนอาศัยเพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ใช้ความรู้ในการตัดสินใจ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Climate change becomes, nowadays, a challenging issue. World citizens need to move forward with a thorough insight into the various risks that may be arisen from climate change. This study focuses on developing students’ climate literacy at the climate attentive level using inquiry instruction and games. Target group are 33 seventh-grade students from the public school of the vulnerable agricultural community context in Nan, Thailand adopting purposive sampling to join a six-weeks science course. The data of the understanding test and awareness questionnaire in the ratio 1:1; percentage scores were analyzed using the paired independent t-test after learning by inquiry instruction and games. Results showed that there is a statistically significant (p<.05) differences between pre and post climate literacy scores and climate literacy level. It is indicated that the use of inquiry instruction and games had a thorough effect on students’ climate literacy development. Besides, community cases should be carefully considered to facilitate to encourage students’ decision making. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
en_US |
dc.relation.uri |
https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/224101 |
|
dc.rights |
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
en_US |
dc.title |
ผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบสอบร่วมกับการใช้เกมต่อการรู้สภาพภูมิอากาศของนักเรียน |
en_US |
dc.title.alternative |
Effect of inquiry instruction and games on students' climate literacy |
en_US |
dc.type |
Article |
en_US |