dc.contributor.author |
นลินี ดวงเนตร |
|
dc.contributor.author |
ยุรวัฒน์ คล้ายมงคล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-01T04:23:18Z |
|
dc.date.available |
2023-09-01T04:23:18Z |
|
dc.date.issued |
2565-01 |
|
dc.identifier.citation |
Journal of Information and Learning [JIL] 33,1 (ม.ค.-เม.ย. 2565) หน้า 11-23 |
en_US |
dc.identifier.issn |
2730-2202 (Online) |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83505 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีจุดประสงค์การวิจัย 3 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดเชิงคำนวณของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้เกมและนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดเชิงคำนวณของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานก่อนเรียนและหลังเรียน และ 3) เพื่อศึกษาพัฒนาการการคิดเชิงคำนวณของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานและแบบวัดความสามารถในการคิดเชิงคำนวณ ซึ่งเป็นแบบวัดประเภทอัตนัย และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของคะแนนด้วยค่าที
ผลการศึกษาพบว่า 1) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานมีค่าเฉลี่ยคะแนนการคิดเชิงคำนวณหลังเรียน (gif.latex?\bar{X}=18.700, S.D.=5.961) สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ (gif.latex?\bar{X}=10.567, S.D.=4.207) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ค่าเฉลี่ยคะแนนการคิดเชิงคำนวณหลังเรียนนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานมีค่าเฉลี่ยคะแนนการคิดเชิงคำนวณหลังเรียน (gif.latex?\bar{X}=18.700, S.D.=5.961) สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ (gif.latex?\bar{X}=8.184, S.D.=6.006) ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดดังกล่าวมีพัฒนาการในการคิดเชิงคำนวณสูงขึ้น |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were: 1) to compare the computational thinking abilities between a game-based learning and a non-game-based learning group, 2) to compare the computational thinking abilities of game-based learning group between pre-test and post-test, and 3) to study the development of computational thinking of game-based learning group. The sample consisted of 60 students in grade 3. The research instruments were game-based mathematical learning management plans and computational thinking tests. The data were analyzed by using mean scores, standard deviation, and t-test.
The results of the research were: 1) the game-based learning group had a higher computational thinking post-test mean score than the non-game-based learning group (gif.latex?\bar{X}=10.567, S.D.=4.207) with a statistical significance at the .05 level; 2) the game-based learning group had a higher computational thinking post-test mean score than a computational thinking pre-test mean score (gif.latex?\bar{X}=8.184, S.D.=6.006) with a statistical significance at the .05 level; and 3) the game-based learning group had better development of computational thinking skills. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี |
en_US |
dc.relation.uri |
https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jil/article/view/254779 |
|
dc.rights |
Journal of Information and Learning [JIL] |
en_US |
dc.title |
ผลการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานที่มีต่อการคิดเชิงคำนวณของนักเรียนประถมศึกษา |
en_US |
dc.title.alternative |
Effects of Using Game-Based Learning in Mathematics on Computational Thinking of Elementary School Students |
en_US |
dc.type |
Article |
en_US |