dc.contributor.other |
ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-01T04:50:02Z |
|
dc.date.available |
2023-09-01T04:50:02Z |
|
dc.date.issued |
2565-06 |
|
dc.identifier.citation |
Journal of Information and Learning [JIL] 33, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2565) หน้า 134-145 |
en_US |
dc.identifier.issn |
2730-2202 (Online) |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83507 |
|
dc.description.abstract |
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) อธิบายแนวคิดสื่อบริการสาธารณะ โดยเปรียบเทียบระหว่างบริบทนานาชาติกับไทย และ 2) ศึกษาสถานภาพองค์ความรู้เกี่ยวกับไทยพีบีเอส ผลการศึกษา พบว่า ในบริบทนานาชาตินั้นสื่อบริการสาธารณะเป็นหนึ่งในสามระบบของสื่อแพร่ภาพและกระจายเสียงที่แยกจากสื่อรัฐกับสื่อพาณิชย์ แต่บริบทไทยนั้น สื่อบริการสาธารณะตามแนวคิดดังกล่าวถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเดียวกับสื่อของรัฐ องค์กรไม่แสวงหากำไร และมหาวิทยาลัย โดยเรียกทั้งหมดว่าเป็นประเภทสื่อบริการสาธารณะ ด้านแหล่งที่มาของงบประมาณสื่อบริการสาธารณะในหลายประเทศนั้นได้รับงบประมาณโดยตรงจากค่าธรรมเนียมการรับชม เงินอุดหนุนจากรัฐ ค่าสมาชิก รายได้จากการจำหน่ายทรัพย์สินทางปัญญา ขณะที่สื่อบริการสาธารณะของไทยอย่างไทยพีบีเอสได้รับงบประมาณจากภาษีสรรพสามิตเหล้าและบุหรี่ ส่วนสถานภาพองค์ความรู้เกี่ยวกับไทยพีบีเอสนั้นมีงานวิจัยตั้งแต่ช่วงปี 2553-2563 จำนวน 15 เรื่อง แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มประเด็น ได้แก่ บทบาทสื่อสาธารณะ (53.3%) องค์กรและสถาบัน (20.0%) เนื้อหาและวาทกรรม (13.3%) และภาพลักษณ์และความพึงพอใจของผู้รับสาร (13.3%) ด้านการวิจัยในอนาคตนั้นควรให้ความสนใจต่อการดำรงอยู่ของไทยพีบีเอสภายใต้บริบทดิจิทัลเพราะเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีการสื่อสาร พฤติกรรมการดำรงชีวิตของผู้รับสาร และการแตกกระจายของสังคม ขณะที่แง่มุมด้านบทบาทต่อกระบวนการสันติภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ค่อนข้างมีพลวัตก็ยังเป็นช่องว่างทางความรู้อยู่ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this article were 1) to compare the international and Thai perspectives in terms of public broadcasting service (PBS) concept and 2) to study the state of the knowledge towards Thai PBS. The results showed that the PBS system in the international context was divided between the state and commercial broadcasting systems. While from the Thai perspective, the PBS as mentioned is classified as part of the state, non-profit organization, and higher education broadcasting systems which were called public service broadcasting. The main source of the international PBS budgets was found to be derived from the licence fee, federal funding, subscription charge, and income from intellectual property which differs from the Thai PBS that receives funding from the alcohol and tobacco tax. The state of knowledge towards Thai PBS is composed of four aspects: roles of Thai PBS (53.3%), organization and institution (20.0%), content and discourse (13.3%), corporate image and audience gratification (13.3%). The future research on Thai PBS should focus on digital context as it causes changes in communication technology, audience lifestyles, and social fragmentation, including the role of Thai PBS towards the southernmost Thailand peace process which is still in the gap of knowledge. |
en_US |
dc.publisher |
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี |
en_US |
dc.relation.uri |
https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jil/article/view/255780 |
|
dc.rights |
Journal of Information and Learning [JIL] |
en_US |
dc.title |
การเปรียบเทียบแนวคิดสื่อบริการสาธารณะในบริบทนานาชาติกับไทยและสถานภาพองค์ความรู้เกี่ยวกับไทยพีบีเอส |
en_US |
dc.title.alternative |
A Comparison of Notion about Public Service Broadcasting of the International and Thai Contexts and the State of Knowledge towards Thai PBS |
en_US |
dc.type |
Article |
en_US |