dc.contributor.author |
พิชญาภา ปัญญาศิริ |
|
dc.contributor.author |
หนึ่งหทัย แรงผลสัมฤทธิ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-25T03:41:23Z |
|
dc.date.available |
2023-09-25T03:41:23Z |
|
dc.date.issued |
2565-01 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ 40,1 (ม.ค.-มิ.ย. 2565) หน้า 30-53 |
en_US |
dc.identifier.issn |
2672-9881 (Online) |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83584 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการสร้างความเทียบเท่าด้านการใช้งานในการแปลภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค 1 องค์ประกันหงสา จากบทภาพยนตร์ภาษาไทยเป็นบทบรรยายภาพยนตร์ภาษาสเปน โดยศึกษาวิเคราะห์จากแนวทางการแปลคำศัพท์ทางวัฒนธรรมด้วยการสร้างความเทียบเท่าด้านการใช้งานที่พบในบทบรรยายภาษาสเปนของภาพยนตร์เรื่องนี้ทั้งหมด 49 กรณี ผลการศึกษาพบว่า การสร้างความเทียบเท่าด้านการใช้งานทำได้โดยการแยกองค์ประกอบความหมายของคำที่ต้องการแปลออกมาเป็นส่วนของบทบาทหน้าที่ในบริบทและองค์ประกอบความหมายอื่น และเลือกรักษานัยความหมายส่วนของบทบาทหน้าที่เอาไว้ เนื่องจากมีความสำคัญต่อใจความหลักของต้นฉบับมากที่สุดในบริบทนั้น ๆ หากตัดออกจะทำให้ใจความหลักเปลี่ยนแปลงไป และสามารถสรุปแนวทางการสร้างความเทียบเท่าด้านการใช้งานในภาพยนตร์เรื่องนี้ได้ 3 ลักษณะ คือ การใช้คำเหนือกลุ่ม การระบุหน้าที่หรือคุณสมบัติ และการใช้คำที่อ้างถึงสิ่งต่างประเภทจากคำต้นฉบับแต่มีหน้าที่ คุณสมบัติ หรือก่อให้เกิดผลแบบเดียวกัน ข้อค้นพบในงานวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางสำหรับนักแปลและผู้สนใจศึกษาแนวทางการแปลโดยการสร้างความเทียบเท่าด้านการใช้งานทั้งในรูปแบบความเรียงและบทบรรยายภาพยนตร์ โดยเฉพาะการใช้แนวทางดังกล่าวเพื่อแก้ปัญหาความแตกต่างทางวัฒนธรรม |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This study aims to analyze how functional equivalence is created in the subtitle translation of the Legend of King Naresuan the Great, Part I: Hongsawadee's Hostage from Thai to Spanish. To answer this question, forty-nine cases of culture-specific items translated using functional equivalents in the movie were analyzed. The findings indicate that functional equivalence can be created by breaking down the semantic components of the term into a context-specific function and other semantic components. The function of the word, being the vital part in the context of the case study, should be retained to keep the core meaning of the source text unchanged. From this study, three methods are proposed to create functional equivalence of a cultural word: using its superordinate, indicating its function or feature, and using a word denoting a different category of objects or entities with the same function or the same effect as the original word in the same context. The findings of this study can benefit scholars on functional equivalence as well as translators who want to create functional equivalence in their translation, especially to cope with issues of cultural differences. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
สาขาวิชาภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
en_US |
dc.relation.uri |
https://so04.tci-thaijo.org/index.php/joling/article/view/250828 |
|
dc.rights |
สาขาวิชาภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
en_US |
dc.title |
การสร้างความเทียบเท่าด้านการใช้งาน: กรณีศึกษาคำแปลบทบรรยายภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค 1 |
en_US |
dc.title.alternative |
Creating Functional Equivalence: The Case of Subtitle Translation of the Legend of King Naresuan the Great, Part I |
en_US |
dc.type |
Article |
en_US |