dc.contributor.author |
อรุณศิริ ชิตางกูร |
|
dc.contributor.author |
จิราวิทย์ ญาณจินดา |
|
dc.contributor.author |
Vigh, Gyula |
|
dc.contributor.author |
ยุวดี เชี่ยววัฒนา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-28T09:33:22Z |
|
dc.date.available |
2023-09-28T09:33:22Z |
|
dc.date.issued |
2546 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83633 |
|
dc.description.abstract |
ได้เตรียมอนุพันธ์ของเบตา-ไซโคลเดกซ์ทริน 3 ชนิด ได้แก่ heptakis(2,3-di-O-methyl-6-O-tert-butyldimethylsilyl)cyclomaltoheptaose (CD-2); heptakis(2,3-di-O-acetyl-6-Otert-butyldimethylsilyl)cyclomaltoheptaose (CD-3); และ heptakis(2-O-methyl-3,6-di-O-tert-butyldimethylsilyl)cyclomaltoheptaose (CD-5) อนุพันธ์ทั้งสามมีหมู่แทนที่ที่ตำแหน่ง primary hydroxyls เหมือนกันคือ tert-butyldimethlysilyl แต่มีหมู่แทนที่ที่ตำแหน่ง secondary hydroxyls ต่างกัน นำอนุพันธ์แต่ละชนิดไปเตรียมเป็นเฟสคงที่เพื่อแยกคู่อิแนนทิโอเมอร์ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี จากอนุพันธุ์ทั้งสามชนิดที่ศึกษา อนุพันธุ์ CD-2 ซึ่งมีหมู่แทนที่ที่ตำแหน่ง secondary hydroxyls เป็นหมู่ methyl ขนาดเล็ก เป็นอนุพันธ์ที่ใช้งานได้กว้างที่สุดทั้งในด้านช่วงอุณหภูมิใช้งาน ความสามารถในการแยกคู่อิแนนทิโอเมอร์ออกจากกัน และกลุ่มของสารที่สามารถแยกได้ อนุพันธุ์ CD-3 สามารถใช้แยกคู่อินแนนทิโอเมอร์ได้ดีเช่นกัน แต่ไม่เหมาะสำหรับการวิเคราะห์สารประเภทแอลกอฮอล์, เอมีน, และกรด เนื่องจากให้พีกที่ไม่สมมาตร ส่วนอนุพันธ์ CD-5 ซึ่งมีหมู่แทนที่ที่ตำแหน่ง secondary hydroxyls ขนาดใหญ่และเกะกะ สามารถใช้เป็นเฟสคงที่ได้ในช่วงอุณหภูมิที่จำกัด แต่ไม่สามารถแยกคู่อิแนนทิโอเมอร์ที่นำมาศึกษาได้เลย |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Three β-cyclodextrin derivatives were prepared: heptakis(2,3-di-O-methyl-6-O-tert-butyldimethylsilyl)cyclomaltoheptaose (CD-2); heptakis(2,3-di-O-acetyl-6-O-tert-btyldimethylsilyl)cyclomaltoheptaose (CD-3); and heptakis(2-O-methyl-3,6-di-O-tert-butyldimehylsilyl)cyclomalfoheptaose (CD-5). All derivatives possess identical tert-butyldimethylsilyl substituents at the primary hydroxyls but different substituents at the secondary hydroxyls. Each derivative was used to prepare gas chromatographic stationary phases for enantiomer separations. Among the three derivatives studied, CD-2, containing small methyl substituents at the secondary hydroxyls, is the most versatile selector in terms of operating temperature range, enantioselectivity and compound classes that can be separated. CD-3 provides good enantioselectivity but is not suitable for alcohols, amines, and acids as peak tailing was observed. CD-5, with large and buiky substituents at the secondary hydroxyls, can be used in a limited temperature range but, unfortunately, shows no enantioselectivity towards any of tested solutes. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
อิแนนทิโอเมอร์ |
en_US |
dc.subject |
แกสโครมาโตกราฟี |
en_US |
dc.subject |
Enantiomers |
en_US |
dc.subject |
Gas chromatography |
en_US |
dc.title |
สมบัติของเฟสคงที่ชนิดใหม่สำหรับการแยกอิแนนทิโอเมอร์ ด้วยแก๊สโครมาโทกราฟี : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
en_US |
dc.title.alternative |
Properties of New Gas Chromatographic Stationary Phases for Enantiomer Separations |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |