dc.contributor.author |
บัณฑิกา อารีย์กุล บุทเชอร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-29T01:08:33Z |
|
dc.date.available |
2023-09-29T01:08:33Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83638 |
|
dc.description |
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สนองพระราชดำริโดย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.description.abstract |
ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างหนอนผีเสื้อกับแมลงเบียนยังมีอยู่น้อยมาก เนื่องจากข้อจำกัดในการเลี้ยงหนอนผีเสื้อและการวินิจฉัยชนิดของแมลงให้ถูกต้อง อย่างไรก็ดีข้อมูลนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการควบคุมประชากรของแมลงศัตรูพืชโดยใช้แตนเบียนเป็นแมลงศัตรูธรรมชาติในการควบคุมแบบชีววิธี ในช่วงศตวรรษหลังมีการพัฒนาและนำเทคนิคทางดีเอ็นเอบาร์โต้ดมาใช้ในการระบุชนิดของสิ่งมีชีวิตทางชีวโมเลกุล วิธีนี้จะช่วยระบุชนิดของหนอนผีเสื้อและแมลงเบียนได้อย่างถูกต้อง แม่ยำ รวดเร็ว และยังแก้ปัญหาต่าง ๆ จากการเลี้ยงแมลง งานวิจัยนี้ศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างหนอนผีเสื้อและแมลงเบียนในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี จากการเก็บตัวอย่างทั้งสิ้น 34 ครั้ง โดยเก็บตัวอย่างเดือนละ 2 ครั้ง เก็บตัวอย่างหนอนผีเสื้อได้มากกว่า 6635 ตัว จำแนกได้ 27 วงศ์ จำนวนหนอนที่ถูกเบียนทั้งหมด 438 ตัว คิดเป็น 6.60% จากการศึกษาดีเอ็นเอบาร์โค้ดพบว่าหนอนผีเสื้อที่ถูกเบียนจำแนกได้ 58 สกุล ส่วนแมลงเบียนจำแนกได้ 28 สกุล หนอนผีเสื้อที่พบมากที่สุดคือ Orvasca subnotata และ Pericyma mendax ส่วนแมลงเบียนที่พบมากที่สุดคือแมลงวันก้นขน Peribaea sp.1 |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Relationships between caterpillars and their parasitoids are poorly known due to the limitation of insect rearing and accurate identification. However, this knowledge is very important for controlling agricultural insect pests using parasitoids as natural enemies in biological control programmes. During the recent decades, DNA barcoding technique has been developed and used for molecular identification. This technique could help identify both caterpillars and their parasitoids accurately and fast, also solve the problems about insect rearing. This research aims to preliminary/primarily study the relationships between caterpillars and their parasitoids at Chulalongkorn University Area, Kaeng Khoi District, Saraburi Province, Thailand. From 34 collecting trips, more than 6635 caterpillars were collected by hands, they were classified into 27 lepidopteran families. Off these, 438 caterpillars were parasitized by parasitoid (6.60%). DNA barcoding revealed 58 genera of parasitized caterpillars and 28 genera of parasitoids. The most abundant caterpillar hosts belonged to Orvasca subnotata and Pericyma mendax and for the tachinid flies, Peribaea sp.1 were the most frequently found species. |
en_US |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินปี 2560 |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
แตนเบียน |
en_US |
dc.subject |
หนอนผีเสื้อ |
en_US |
dc.subject |
แมลงศัตรูพืช |
en_US |
dc.subject |
ดีเอ็นเอ |
en_US |
dc.subject |
Parasitic wasps |
en_US |
dc.subject |
Insect pests |
en_US |
dc.subject |
DNA |
en_US |
dc.title |
การหาดีเอ็นเอบาร์โค้ดของหนอนผีเสื้อให้อาศัยและแมลงเบียนในพื้นที่โครงการ อพ.สธ. : รายงานผลการดำเนินงาน |
en_US |
dc.title.alternative |
DNA barcoding of lepidopteran hosts and their parasitoids at RSPG areas |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |