dc.contributor.author |
พนมพร วานิชชานนท์ |
|
dc.contributor.author |
จันทร์ชัย เจรียงประเสริฐ |
|
dc.contributor.author |
กนก สรเทศน์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-10-03T09:04:41Z |
|
dc.date.available |
2023-10-03T09:04:41Z |
|
dc.date.issued |
2544 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83679 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีขากรรไกรล่างยื่นมีความผิดปกติในการออกเสียงพยัญชนะไทยมากน้อยอย่างไร โดยทดสอบเปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่ม กลุ่มละ 40 คนแบ่งเป็นกลุ่มผู้ที่มีขากรรไกรล่างย่าน (ชาย 21 คน หญิง 19 คน) และกลุ่มผู้ที่มีความสัมพันธ์ระหว่างขากรรไกรบน-ล่างปกติ (ชาย 20 คน หญิง 20 คน) บันทึกเสียงการอ่านแบบทดสอบการออกเสียงพยัญชนะภาษาไทย ซึ่งประกอบด้วยพยัญชนะต้นเดี่ยว พยัญชนะต้นควบ และพยัญชนะสะกด พร้อมกับบันทึกเสียงพูดในขณะสัมภาษณ์ตัวอย่างแต่ละคน ข้อมูลได้จากการวิเคราะห์เสียงจากแถบบันทึกเสียงโดยไม่ทราบว่าเสียงที่ฟังเป็นของกลุ่มตัวอย่างใด และบันทึกผลเฉพาะคำที่ผู้ฟังมีความเห็นตรงกันอย่างน้อยสองในสาม พบว่ากลุ่มผู้ที่มีขากรรไกรล่างยื่นสามารถออกเสียงพยัญชนะไทยส่วนใหญ่ได้ถูกต้อง ยกเว้นหน่วยเสียง/และเสียพยัญชนะกล้ำ ซึ่งมีผู้ออกเสียงไม่ถูกต้องสูงกว่ากลุ่มผู้ที่มีความสัมพันธ์ของขากรรไกรบน-ล่างปกติอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) และความรุนแรงของการออกเสียงไม่ถูกต้องมีความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของระยะสบไขว้ในแนวราบอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) โดยที่ตัวอย่างแต่ละคนมีความรุนแรงในการออกเสียงผิดปกติแตกต่างกัน ดังนั้นในการแก้ไขภาวะขากรรไกรล่างยื่นจึงควรประเมินการออกเสียงพูดร่วมด้วยในผู้ป่วยแต่ละราย และบางรายอาจต้องได้รับการแก้ไขการพูดร่วมด้วย |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study was determine the extent of Thai consonant articulation defects in subjects with mandibular prognathism. This comparative study comprised two sample groups: 40 subjects with mandibular prognathism (21 males and 19 females) and 40 subjects with normal maxilla-mandibular relationship (20 males and 20 females). All subjects were asked to perform a speech test comprising a variety of Thai phonetic contexts (initial consonants, initial cluster consonants and final consonants) and were shortly interviewed. All speech samples were tape recorded. Three speech therapists analyzed the speech samples of all subjects using a blind technique and accepted at least 2 of 3 concordant judgements. Most subjects with mandibular prognatism were able to produce Thai consonant articulation correctly. However, they demonstrated significantly more mistakes in producing the sound /r/ and the initial cluster consonants than the comparison group (p<0.05). The severity of the problems corresponded to the degree of horizontal anterior crossbite (p<0.05) and the speech defects varied widely among individuals. It is recommended that patients with mandibular prognathism should be individually evaluated for speech problems and additional speech therapy may be needed in some patients. |
en_US |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินปี 2544 |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ภาวะคางยื่น |
en_US |
dc.subject |
ขากรรไกรล่าง |
en_US |
dc.subject |
ขากรรไกร -- ความผิดปกติ |
en_US |
dc.subject |
ภาษาไทย -- การออกเสียง |
en_US |
dc.title |
การออกเสียงพยัญชนะไทยในผู้ที่มีขากรรไกรล่างยื่น : รายงานผลการวิจัย |
en_US |
dc.title.alternative |
Thai consonant articulation in subjects with mandibular prognathism |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |