dc.contributor.author |
ยุทธ อัครมาส |
|
dc.contributor.author |
ภิยโย ปันยารชุน |
|
dc.contributor.author |
วันชัย โพธิ์พิจิตร |
|
dc.contributor.author |
อนันตสิน เดชะกำพุช |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-12-02T07:59:10Z |
|
dc.date.available |
2023-12-02T07:59:10Z |
|
dc.date.issued |
2533 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83826 |
|
dc.description |
การสร้างเครื่องมือช่วยวิจัย -- การพัฒนาฟิล์มพอลิเมอร์เพียสโซอิเล็กตริก |
en_US |
dc.description.abstract |
ได้พัฒนาเครื่องยืดฟิล์มพอลิเมอร์ เตาอบฟิล์มในช่วงอุณหภูมิ 80°-120°C และเครื่องจ่ายแรงเคลื่อนไฟฟ้า 3,000 โวลต์ เพื่อใช้ในการเตรียมฟิล์ม polyvinylidene fluoride (PVDF) ให้มีสภาพเพียสโซอิเล็กตริกสูง ในการเตรียมนี้ขั้นแรกจะยืดฟิล์มออก 4-6 เท่าของความยาวเดิมที่อุณหภูมิ 80° จากนั้นอบที่ 100°C ประมาณ 3 นาที ต่อมานำฟิล์มไปฉาบอะลูมิเนียมเป็นอิเล็กโทรดทั้งสองด้าน ที่อุณหภูมิ Tp เมื่อสร้างสนามไฟฟ้า Ep ผ่านฟิล์มพอลิเมอร์โดยต่อศักย์ไฟฟ้าสูงกับอิเล็กโทรดทั้งสองเป็นเวลา tp ฟิล์ม PVDF นี้จะกลายเป็นฟิล์มเพียสโซอิเล็กตริก จากการวิเคราะห์พบว่าสัมประสิทธิ์เพียสโซอิเล็กตริก d31 ของฟิล์มจะเพิ่มขึ้นเมื่อ Ep และ Tp สูงขึ้น โดยใช้ Ep = 100 MV/m, Tp = 100°C, tp> 20 นาที จะได้ d31 = 20x10 C/N ซึ่งมีค่าสูงเทียบเท่ากับฟิล์ม PVDF มาตรฐาน ได้นำฟิล์มเพียสโซอิเล็กตริกนี้ ไปทำเป็นแหล่งกระจายเสียง หูฟัง และไมโครโฟน พบว่าเครื่องมือเหล่านี้ทำงานไม่ดีที่ความถี่ต่ำกว่า 350 Hz ที่ความถี่สูงเช่น 5 kHz จะทำงานได้ดีมาก และที่ความถี่เหนือเสียงก็ยังใช้งานได้ดี คาดว่าฟิล์ม PVDF นี้สามารถนำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ได้ในอนาคต |
en_US |
dc.description.sponsorship |
ได้รับการสนับสนุนจากเงินทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2533 |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
Piezoelectric materials |
en_US |
dc.subject |
โพลีไวนีลิดีนฟลูออไรด์ |
en_US |
dc.title |
การพัฒนาเครื่องกำเนิดและเครื่องรับสัญญาณสวนะแบบพอลิเมอร์ : รายงานการวิจัย |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |