dc.contributor.advisor |
Montakarn Chuemchit |
|
dc.contributor.author |
Jiratchaya Rungrote |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences |
|
dc.date.accessioned |
2024-01-06T10:43:20Z |
|
dc.date.available |
2024-01-06T10:43:20Z |
|
dc.date.issued |
2023 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83914 |
|
dc.description |
Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2023 |
|
dc.description.abstract |
The purpose of this research was to study perceptions and experiences of sexual harassment among 355 LGBTQ students in the University. Data was collected by self-administer questionnaire to find perceptions and experiences of sexual harassment. Descriptive, Pearson’s Chi-square and Fisher exact were performed to describe and determine the associations. The research findings indicate that the majority of research participants were perceived to sexual harassment at a moderate level. There was a moderate tolerant attitude towards sexual harassment, and there were experiences of verbal, non-verbal, and physical sexual harassment at a moderate level. Gender, University, part-time job type, the use of social media for communication, and traveling during nighttime were significantly associated with perceptions and experiences of sexual harassment with a statistical significance level of 0.05. |
|
dc.description.abstractalternative |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และประสบการณ์การถูกล่วงละเมิดทางเพศ ของกลุ่มนักศึกษาในระดับชั้นปริญญาตรีที่มีความหลากหลายทางเพศ จํานวน 355 คน โดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง งานวิจัยนี้ใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติอ้างอิง โดยใช้การทดสอบไคสแควร์และฟิชเชอร์เอ็กแซ็กเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ผลการวิจัยพบว่า ผู้มีส่วนร่วมการวิจัยส่วนใหญ่รับรู้พฤติกรรมการถูกล่วงละเมิดทางเพศในระดับปานกลาง มีทัศนคติที่ยอมรับได้ในระดับปานกลางต่อการล่วงละเมิดทางเพศ และมีประสบการณ์การถูกล่วงละเมิดทางเพศด้านวจนภาษา ด้านอวจนภาษา และด้านร่างกายในระดับปานกลาง สำหรับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้และประสบการณ์การถูกล่วงละเมิดทางเพศ คือ เพศ,มหาวิทยาลัย,ประเภทของงานพาร์ทไทม์,การใช้สื่อโซเชียลมีเดียในการติดต่อสื่อสาร และ การเดินทางในช่วงเวลากลางคืน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject.classification |
Health Professions |
|
dc.subject.classification |
Human health and social work activities |
|
dc.title |
Perception and experiences of sexual harassment among LGBTQ students in universities, Bangkok Thailand |
|
dc.title.alternative |
การรับรู้และประสบการณ์การถูกล่วงละเมิดทางเพศของนักศึกษามหาวิทยาลัยที่มีความหลากหลายทางเพศ ในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Public Health |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Public Health |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|