dc.contributor.author |
ธัชชัย สุมิตร |
|
dc.contributor.author |
วีระชัย บัญชรเทวกุล |
|
dc.contributor.author |
ศิริวัฒนา บัญชรเทวกุล |
|
dc.contributor.author |
สุวิทย์ ปุณณชัยยะ |
|
dc.contributor.author |
นเรศร์ จันทน์ขาว |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2008-10-30T10:10:05Z |
|
dc.date.available |
2008-10-30T10:10:05Z |
|
dc.date.issued |
2536 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8391 |
|
dc.description |
โครงการวิจัย ; เลขที่ 35G-NC-2532 |
en |
dc.description.abstract |
ผลการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาวัสดุจุดหลอมตัวต่ำสำหรับกำบังรังสีเอ็กซ์และรังสีแกมมาพบว่า โลหะผสมเทอนารีระบบมิสมัท-ตะกั่ว-ดีบุก บิสมัท-แคดเมียม-ตะกั่ว และบิสมัท-แคดเมียม-ดีบุก เหมาะกับการหล่อโลหะในช่วงอุณหภูมิ 120-175 องศาเซลเซียส ในขณะที่โลหะผสมควอเทอนารีระบบบิสมัท-ตะกั่ว-ดีบุก-แคดเมียม เหมาะกับการหล่อโลหะในช่วงอุณหภูมิ 95-120 องศาเซลเซียส โครงสร้างของโลหะผสมเทอนารีพบว่ามีเนื้อแน่น สามารถประเมินความหนาแน่นจากการคำนวณในขณะที่โลหะผสมควอเทอนารีจะมีเฟสของสารประกอบระหว่างโลหะซึ่งมีความหนาแน่นต่ำปรากฏ ทำให้ไม่สามารถประเมินความหนาแน่นโดยการคำนวณ ความแข็งแรงของโลหะผสมทั้งสองระบบมีค่าประมาณ 2-3 เท่าของโลหะตะกั่ว ทำให้ชิ้นงานหล่อมีความแข็งแรงและรักษารูปทรงได้ดีขึ้นกว่าเดิม แม้จะมีอุณหภูมิจุดหลอมตัวต่ำกว่าโลหะตะกั่วมาก ในการศึกษาคุณสมบัติการกำบังรังสีโดยพิจารณาจากสัมประสิทธิ์การแอทเทนนูเอทเชิงเส้น (หรือสัมประสิทธิ์การแอทเทนนูเอทเชิงมวล) ในช่วงพลังงานที่ใช้ทางการแพทย์ (60-150 keV) พบว่าที่ค่าความหนาแน่นคงที่เมื่อระดับพลังงานคงที่ ธาตุและส่วนผสมของธาตุที่เป็นองค์ประกอบจะเป็นตัวแปรสำคัญที่มีผลต่อค่าสัมประสิทธิ์การแอทเทนนูเอทโดยตรง รวมทั้งมีข้อสรุปจากการศึกษาผลการเกิดออกซิเดชันของโลหะผสมในขณะที่กำลังหล่อโลหะ และข้อควรระวังในการหล่อโลหะด้วย |
|
dc.description.abstractalternative |
Studies on development of low melting point materials for x-ray and gamma ray shielding for medical applications showed that the casting temperature range of 120-175 degree Celsius was suitable for Bi-Pb-Sn, Bi-Cd-Pb, and Bi-Cd-Sn ternary alloys while 90-120 degree Celsius range was suitable for Bi-Pb-Sn-Cd quaternary alloys. Ternary alloys had sound texture without any presence of low density phase of intermetallic compound as found in quaternary alloys, thus enabled their density estimations by calculation. Both system alloys had 2-3 times hardness values compared to that of lead metal. This indicated the improvement in strength to weight ratio while their casting temperatures were lower. Radiation shielding properties of both system alloys at 60-150 keV energy range were not far different from lead metal. When material or composition was fixed, the attenuation coefficients decreased while the radiation energy increased. In contrast when the radiation energy was fixed, existing elements and their compositions would play important role on the obtaining attenuation coefficients. Oxidation effect on composition change and precautions during casting of alloys were also discussed. |
|
dc.description.sponsorship |
ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน |
en |
dc.format.extent |
9902605 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
การกำบังรังสี |
en |
dc.subject |
รังสีเอกซ์ |
en |
dc.subject |
รังสีแกมมา |
en |
dc.subject |
โลหะผสมเทอนารี |
en |
dc.subject |
โลหะผสมควอเทอนารี |
en |
dc.subject |
จุดหลอมตัว |
en |
dc.subject |
ยูเทคติก |
en |
dc.title |
การพัฒนาวัสดุจุดหลอมตัวต่ำสำหรับกำบังรังสีเอกซ์และรังสีแกมมา |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
Tatchai.S@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
fnesbc@eng.chula.ac.th, Siriwattana.B@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
Suvit.P@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
fnenck@eng.chula.ac.th |
|