DSpace Repository

อิทธิพลของการรับรู้ความเหมือนมนุษย์ผ่านภาพประกอบ ความต้องการทางปัญญา และความน่าเชื่อถือของสารโน้มน้าวใจต่อเจตคติต่อการใช้กระบอกน้ำพกพา

Show simple item record

dc.contributor.advisor วัชราภรณ์ บุญญศิริวัฒน์
dc.contributor.author รัตนกร แก้ววานิช
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2024-02-05T02:49:29Z
dc.date.available 2024-02-05T02:49:29Z
dc.date.issued 2565
dc.identifier.uri https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83942
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการรับรู้ความเหมือนมนุษย์ ความต้องการทางปัญญา และความน่าเชื่อถือของสารโน้มน้าวใจที่มีต่อเจตคติต่อการใช้กระบอกน้ำพกพาเมื่อนักศึกษาอยู่ในบริเวณมหาวิทยาลัย ผู้ร่วมการทดลองในงานวิจัยเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 222 คน ซึ่งตอบมาตรวัดความต้องการทางปัญญา แล้วจึงอ่านข้อความโน้มน้าวใจที่ถูกจัดกระทำให้มีคุณภาพของข้อโต้แย้งสูงหรือต่ำ และมีภาพประกอบที่มีความเหมือนมนุษย์หรือไม่มีความเหมือนมนุษย์ แล้วตอบมาตรวัดเจตคติต่อการใช้กระบอกน้ำพกพาในบริเวณมหาวิทยาลัย และเขียนรายงานความคิดที่เกิดขึ้นขณะที่กำลังอ่านสารโน้มน้าวใจ ผลการวิเคราะห์พบการปฏิสัมพันธ์ 3 ทางระหว่างตัวแปรต่อเจตคติต่อการใช้กระบอกน้ำพกพาอย่างมีนัยสำคัญ การศึกษานี้มีความสำคัญต่อการทำความเข้าใจอิทธิพลของการรับรู้ความเหมือนมนุษย์ในการเปลี่ยนเจตคติต่อพฤติกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม
dc.description.abstractalternative The present research aims to study effects of anthropomorphism, need for cognition, and argument quality on attitudes toward using reusable water bottle of college students on campus. Two-hundred and twenty-two undergraduate students reported their need for cognition, then assigned to read either high or low argument quality persuasive message with either anthropomorphism illustration or non-anthropomorphism illustration before completing attitude toward using reusable water bottle on campus, and a thought-listing task. A conditional process analysis showed that there is a three-way interaction between anthropomorphism, need for cognition, and argument quality on attitude toward using reusable water bottle. These findings are important for understanding the effects of anthropomorphism on attitude toward using reusable water bottle.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject.classification Psychology
dc.subject.classification Information and communication
dc.title อิทธิพลของการรับรู้ความเหมือนมนุษย์ผ่านภาพประกอบ ความต้องการทางปัญญา และความน่าเชื่อถือของสารโน้มน้าวใจต่อเจตคติต่อการใช้กระบอกน้ำพกพา
dc.title.alternative Effects of anthropomorphism through illustration, need for cognition, and argument quality on attitudes toward using reusable water bottle
dc.type Thesis
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline จิตวิทยา
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record