DSpace Repository

Cross-cultural adaptation, reliability, and validity study of the Thai version of the Manchester-Oxford Foot Questionnaire in individuals with chronic foot pain

Show simple item record

dc.contributor.advisor Praneet Pensri
dc.contributor.author Poramat Kul-eung
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Allied Health Sciences
dc.date.accessioned 2024-02-05T02:51:50Z
dc.date.available 2024-02-05T02:51:50Z
dc.date.issued 2020
dc.identifier.uri https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83957
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2020
dc.description.abstract There are 10-24% of the population who experience chronic foot pain. Patient-reported outcome measurement (PROM) is a standardized tool that is useful in measuring the outcomes of treatment. The Manchester-Oxford Foot Questionnaire (MOXFQ) is a foot-specific questionnaire that was developed for surgical outcomes and foot conditions assessment. There are 3 subscales of MOXFQ including walking/standing, pain, and social interaction. MOXFQ has been translated into several languages but there is no previous Thai version. This study aimed to cross-culturally adapt and test for reliability and validity of the Thai version of MOXFQ (Thai-MOXFQ) in participants with chronic foot problems. The original version of MOXFQ was translated into the Thai language by cross-cultural adaptation. The Thai-MOXFQ had been investigated in 100 participants with chronic foot pain for reliability and construct validity. Test-retest reliability was evaluated via intraclass correlation coefficients (ICC 3,1). Construct validity was analyzed by Spearman’s rank correlation between Thai-MOXFQ, Foot and Ankle Ability Measure (FAAM), SF-36, and Visual Analogue Scale (VAS). Thai-MOXFQ was successfully adapted from the original version with minor changes. The Thai-MOXFQ demonstrated good level of test-retest reliability (Intra-class correlation coefficient of 0.763 to 0.833) and internal consistency (Cronbach alpha of 0.738 to 0.871). Construct validity was supported via moderate relationship with FAAM, SF-36, and VAS (p < 0.05, Spearman rank correlation > 0.5). The study showed that MOXFQ-walking/standing was related to the physical domain of SF-36 and FAAM. While MOXFQ-pain was related to VAS and bodily pain of SF-36. Moreover, MOXFQ-social interaction showed moderate relationship with bodily pain, social functioning of SF-36 and FAAM. The Thai-MOXFQ was developed and demonstrated good reliability and internal consistency The Thai-MOXFQ showed acceptable level of construct validity with SF-36, FAAM, and VAS. Therefore, the Thai-MOXFQ is a reliable and valid foot-specific PROM for assessing outcome measurement in patients with chronic foot pain.
dc.description.abstractalternative จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าร้อยละ 10 ถึง 24 ของประชากรมีภาวะปวดเท้าเรื้อรัง การตอบแบบสอบถามโดยผู้ป่วยเป็นเครื่องมือที่ได้มาตรฐานในการประเมินผลการรักษา แบบประเมินเท้าแมนเชสเตอร์ออกซฟอร์ด (MOXFQ) เป็นแบบประเมินที่มีความจำเพาะในการประเมินเท้าได้ถูกพัฒนามาเพื่อใช้สำหรับประเมินผลการรักษาในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดหรือมีปัญหาเกี่ยวกับเท้า แบบประเมินฉบับนี้ประกอบด้วย 3 หมวดหมู่ได้แก่ การยืนการเดิน อาการปวด และการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม แบบประเมิน MOXFQ ได้ถูกแปลเป็นภาษาอื่นหลายภาษา แต่ยังไม่เคยได้รับการแปลเป็นภาษาไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อดัดแปลงแบบประเมิน MOXFQ จากต้นฉบับภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และปรับปรุงให้สอดคล้องกับบริบทของคนไทย และทดสอบความเที่ยงและความตรงในผู้ที่มีอาการปวดเท้าเรื้อรัง การศึกษานี้ใช้กระบวนการปรับข้ามวัฒนธรรมในการแปลแบบประเมิน MOXFQ แบบประเมินฉบับภาษาไทยถูกนำมาทดสอบในอาสาสมัครที่มีอาการปวดเท้าเรื้อรังจำนวน 100 ราย โดยทดสอบความเที่ยงเมื่อทดสอบซ้ำ (Test-retest reliability) ความสอดคล้องภายใน (Internal consistency) และความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct validity) ร่วมกับแบบประเมิน Foot and Ankle Ability Measure (FAAM) แบบสอบถามShort Form-36 (SF-36) และแบบทดสอบ Visual Analogue Scale (VAS) แบบประเมิน MOXFQ ฉบับภาษาไทยได้ถูกดัดแปลงโดยมีการปรับเปลี่ยนเล็กน้อยจากต้นฉบับ โดยแบบประเมินมีค่าความเที่ยงเมื่อทดสอบซ้ำและค่าความสอดคล้องภายในในระดับสูง (Intra-class correlation coefficient ระหว่าง 0.763 ถึง 0.833 และ Cronbach alpha ในช่วง 0.738 ถึง 0.871) แบบประเมินฉบับนี้มีความตรงเชิงโครงสร้างในระดับปานกลางเมื่อเปรียบเทียบกับแบบประเมิน FAAM แบบสอบถาม SF-36 และแบบทดสอบ VAS (p < 0.05 และ Spearman rank correlation > 0.5) โดยคะแนนการยืนการเดินจะมีความสำคัญกับ Physical domain ของ SF-36 และ FAAM ส่วนคะแนนอาการปวดมีความสัมพันธ์กับแบบทดสอบ VAS และ Bodily pain ของ SF-36 นอกจากนี้คะแนนส่วนการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีความสัมพันธ์ปานกลางกับ Bodily pain Social functioning ของ SF-36 และ FAAM แบบประเมิน MOXFQ ฉบับภาษาไทย ได้ถูกดัดแปลงจากต้นฉบับภาษาอังกฤษ ซึ่งมีค่าความเที่ยงเมื่อทดสอบซ้ำและความสอดคล้องภายในระดับสูง มีความตรงเชิงโครงสร้างกับ SF-36, FAAM, และ VAS ในระดับที่ยอมรับได้ดังนั้น แบบประเมิน Thai-MOXFQ เป็นแบบประเมินเท้าที่มีความตรงและความเที่ยงสามารถนำมาใช้ประเมินผู้ที่มีอาการปวดเท้าเรื้อรังได้
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject.classification Health Professions
dc.subject.classification Human health and social work activities
dc.subject.classification Therapy and rehabilitation
dc.title Cross-cultural adaptation, reliability, and validity study of the Thai version of the Manchester-Oxford Foot Questionnaire in individuals with chronic foot pain
dc.title.alternative การปรับข้ามวัฒนธรรมและการศึกษาความเที่ยงและความตรงของแบบประเมินเท้าแมนเชสเตอร์ออกซฟอร์ดฉบับภาษาไทยในผู้ที่มีอาการปวดเท้าเรื้อรัง
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Physical Therapy
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record