DSpace Repository

มาตรฐานการทบทวน (Standard of Review) เกี่ยวกับความเสียหายตามความตกลงว่าด้วยมาตรการปกป้องภายใต้ WTO

Show simple item record

dc.contributor.advisor ทัชชมัย ฤกษะสุต
dc.contributor.author อมรวไล นิลพานิช, 2522-
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2006-07-18T09:17:02Z
dc.date.available 2006-07-18T09:17:02Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.isbn 9745321184
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/839
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 en
dc.description.abstract ศึกษาและวิเคราะห์ว่า มาตรฐานการทบทวน (Standard of Review) เกี่ยวกับความเสียหายตามความตกลงว่าด้วยมาตรการปกป้องภายใต้ WHO สามารถแก้ปัญหาในเรื่องการใช้มาตรการปกป้องอย่างไม่เป็นธรรมได้ในระดับหนึ่ง จากการศึกษาพบว่าองค์กรระงับข้อพิพาทใช้มาตรฐานการทบทวน (Standard of Review) เกี่ยวกับความเสียหายตามความตกลงว่าด้วยมาตรการปกป้อง เพื่อป้องกันการใช้มาตรการปกป้องอย่างไม่เป็นธรรมของประเทศสมาชิก โดยในการพิจารณาเรื่องความเสียหายอย่างร้ายแรงหรือคุกคาม ว่าจะเกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง องค์กรระงับข้อพิพาทจะตรวจสอบว่า (1) เจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจได้ประเมินปัจจัยทั้งหมดที่เกี่ยวข้องตามมาตรา 4.2 (เอ) หรือไม่ และ (2)เจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจมีคำอธิบายที่มีเหตุผลและมีความเพียงพอหรือไม่ ว่าข้อเท็จจริงต่างๆ สนับสนุนการตัดสินอย่างไร ส่วนในการพิจารณาเรื่องการเพิ่มขึ้นของสินค้านำเข้าดังกล่าว ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง หรือคุกคาม ว่าจะเกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงจริงหรือไม่ (causal link) องค์กรระงับข้อพิพาทจะตรวจสอบว่า (1) มีการเพิ่มขึ้นของสินค้านำเข้าเกิดขึ้นสอดคล้องกับความเสียหายหรือไม่ (coincidence of trends) (2) สภาพการข่างขันระหว่างสินค้านำเข้ากับสินค้าที่ผลิตภายในประเทศ แสดงให้เห็นว่าการเพิ่มขึ้นของสินค้านำเข้าก่อให้เกิดความเสียหายหรือไม่ (condition of competition) และ (3) กรณีมีสาเหตุอื่นๆ นอกจากการเพิ่มขึ้นของสินค้านำเข้าก่อให้เกิดความเสียหาย เจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจนำความเสียหายที่เกิดจากสาเหตุอื่นๆ มาตัดสินว่าเป็นความเสียหายที่เกิดจาการเพิ่มขึ้นของสินค้านำเข้าหรือไม่ en
dc.description.abstractalternative To study and analyze the Standard of Review on injury under WTO Agreement on Safeguards that can solve the problem of abusing the safeguard measure to some certain extent. The result of this study indicates that Dispute Settlement Body (DSB) employs the Standard of Review on injury under WTO Agreement on Safeguards to prevent the abuse implementation of Safequards measure by Member States. In the analysis of serious injury or threat thereof the DSB will consider (1) whether the competent authorities have evaluated all relevant factors ; and (2) whether those authorities have provided a reasoned and adequate explanation of how the facts support their determinations. In the analysis of causation, DSB will consider whether competent authorities meets these requirements on the basis of (1) whether an upward trend in imports coincides with downward trends in the injury ; (2) whether the condition of competition between the imported and domestic product as analysed demonstrates the existence of the causal link between such increased imports and injury ; and (3) whether other relevant factors have been analysed and whether it is established that injury caused by factors, other than such increased imports, has not been attributed to imports. en
dc.format.extent 2089671 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject นโยบายการค้า en
dc.subject องค์การการค้าโลก en
dc.subject ข้อบังคับทางการค้ากับต่างประเทศ en
dc.subject ข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ en
dc.title มาตรฐานการทบทวน (Standard of Review) เกี่ยวกับความเสียหายตามความตกลงว่าด้วยมาตรการปกป้องภายใต้ WTO en
dc.title.alternative Standard of review on injury under WTO agreement on safeguards en
dc.type Thesis en
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ en
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record