dc.contributor.advisor |
Sumit Durongphongtorn |
|
dc.contributor.advisor |
Thawat Lekdumrongsak |
|
dc.contributor.author |
Aomusa Kuaha |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science |
|
dc.date.accessioned |
2024-02-05T06:08:52Z |
|
dc.date.available |
2024-02-05T06:08:52Z |
|
dc.date.issued |
2020 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84053 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2020 |
|
dc.description.abstract |
The effects of ketamine combined with dexmedetomidine and ketamine combined with xylazine on analgesia and cardiopulmonary variables in rabbits were evaluated in eight healthy New Zealand White rabbits. The experiment used a randomized double-crossover design. The rabbits were randomly divided into two groups, Group KD (n=4: 2 males/2 females) receivied 35 mg kg -1of ketamine and 0.5 mg kg -1of dexmedetomidine SC, while Group KX (n=4: 2 males/2 females) receivied 35 mg kg -1of ketamine and 5 mg kg -1of xylazine SC. The physiological parameters included HR, RR, PR, SpO2, SBP and RT were determined every 5 minutes and continuously monitored until the pedal withdrawal reflex returned. Mechanical and electrical stimuli were applied to evaluate the depth of anesthesia. Once the response to the noxious stimuli returned, 1 mg kg -1of atipamezole SC was administered in all rabbits. Rabbit reactions were monitored using videorecording. The blinded evaluator assessed the drug effect on anesthesia induction and the recovery reaction of all rabbits from videos recorded. There was significant difference in the induction time and the duration of anesthesia between KD and KX groups (p<0.05). The mean induction time and the duration of anesthesia were determined as 6.6 and 110.9 min respectively in the KD group and 19.8 and 17.8 min respectively in the KX group. Atipamezole reversal time was not significantly different between KD and KX. Intergroup comparison exhibited significant difference in terms of HR at the 10th min, PR at the 10th min, RT at the 25th min, SBP at 25th and 30th after loss of the righting reflex (p<0.05). As for intragroup comparison, HR and RR in both KD and KX were significantly decreased compared to the baseline (T=0). RT in both KD and KX was significantly decreased while PR, SBP and SpO2 were not, compared to 5th min after loss of the righting reflex (T=5). In conclusion, KD provided better analgesia, longer anesthesia, more rapid induction time, smoother and less complicated induction and recovery than KX. Both treatments demonstrated cardiopulmonary effects of significant decrease respiratory rate and heart rate. Therefore, both combinations should be used with caution in patients with respiratory depression. |
|
dc.description.abstractalternative |
การศึกษานี้เปรียบเทียบผลการใช้เคตามีนร่วมกับเด็กซ์เมทดีโตมิดีนและเคตามีนร่วมกับไซลาซีนในการระงับความปวด ต่อระบบหมุนเวียนเลือดและการหายใจในกระต่ายพันธุ์นิวซีแลนด์ไวท์ที่มีสุขภาพดี การทดลองใช้วิธีการสุ่มเลือกแบบดับเบิ้ลครอส โอเวอร์ กระต่ายถูกแบ่งแบบสุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มยาเคตามีนร่วมกับยาเด็กซ์เมทดีโตมิดีน (จ านวน 4 ตัว ตัวผู้ 2 ตัว ตัวเมีย 2 ตัว) ได้รับยาเคตามีน 35 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมและยาเด็กซ์เมทดีโตมิดีน 0.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ใต้ชั้นผิวหนัง และกลุ่มยาเคตามีน ร่วมกับยาไซลาซีน (จ านวน 4 ตัว ตัวผู้ 2 ตัว ตัวเมีย 2 ตัว) ได้รับยาเคตามีน 35 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมและยาไซลาซีน 5 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัม ใต้ชั้นผิวหนัง ค่าพารามิเตอร์ทางสรีรวิทยา ประกอบไปด้วย อัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ อัตราชีพจร เปอร์เซ็นต์ออกซิเจนอิ่มตัวในเม็ดเลือดแดง ความดันเลือด และอุณหภูมิทางทวารหนัก ถูกวัดทุก 5 นาที จนกระทั่งมีการตอบสนอง โดยการชักขากลับ การกระตุ้นความเจ็บปวดทางกายภาพและทางไฟฟ้าถูกน ามาใช้เพื่อวัดระดับความลึกของการวางยาสลบ จนมี การตอบสนองต่อการต่อการกระตุ้นความเจ็บปวด จึงมีการให้อะทิพามีโซน 1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ใต้ชั้นผิวหนัง ในกระต่ายทุกตัว สังเกตการตอบสนองของกระต่ายโดยการบันทึกวิดีโอ โดยผู้ประเมินที่ไม่ทราบกลุ่มยา ท าการประเมินผลของยาต่อปฏิกิริยาการน า สลบและการฟื้นจากการสลบของกระต่ายทั้งหมดจากบันทึกวิดีโอ ระยะเวลาการน าสลบและระยะเวลาในการวางยามีความแตกต่าง อย่างมีนัยส าคัญระหว่างกลุ่มยาเคตามีนร่วมกับยาเด็กซ์เมทดีโตมิดีน และกลุ่มยาเคตามีนร่วมกับยาไซลาซีน (p<0.05) ค่าเฉลี่ยของ เวลาในการน าสลบและระยะเวลาในการสลบ คือ 6.6 และ 110.9 นาทีตามล าดับในกลุ่มยาเคตามีนร่วมกับยาเด็กซ์เมทดีโตมิดีน และ 19.8 และ 17.8 นาทีตามล าดับในกลุ่มยาเคตามีนร่วมกับยาไซลาซีน ระยะเวลาในการฟื้นจากยาสลบหลังจากได้รับยาอะทิพามี โซน ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญระหว่างกลุ่มยาเคตามีนร่วมกับยาเด็กซ์เมทดีโตมิดีน และกลุ่มยาเคตามีนร่วมกับยาไซลา ซีน การเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญของ อัตราการเต้นของหัวใจที่นาทีที่ 10 อัตราชีพจร ที่นาทีที่ 10 อุณหภูมิทางทวารหนักที่นาทีที่ 25 ความดันเลือดที่นาทีที่ 25 และ 30 หลังจากสูญเสียการทรงตัว (p<0.05) ส่วนการ เปรียบเทียบภายในกลุ่มยาเคตามีนร่วมกับยาเด็กซ์เมทดีโตมิดีน และกลุ่มยาเคตามีนร่วมกับยาไซลาซีน พบว่าอัตราการเต้นของ หัวใจและอัตราการหายใจลดลงอย่างมีนัยส าคัญเมื่อเทียบกับเวลาเริ่มต้น (T=0) อุณหภูมิทางทวารทั้งในกลุ่มยาเคตามีนร่วมกับยา เด็กซ์เมทดีโตมิดีน และกลุ่มยาเคตามีนร่วมกับยาไซลาซีน มีค่าลดลงอย่างมีนัยส าคัญ ในขณะที่อัตราการเต้นของชีพจร ความดัน เลือด และเปอร์เซ็นออกซิเจนอิ่มตัวในเม็ดเลือดแดง ไม่แตกต่างอย่างมีนัยส าค ญ เมี่อเทียบกับเวลาที่นาทีที่ 5 หลังจากสูญเสียการ ทรงตัว กล่าวโดยสรุปการใช้ยาเคตามีนร่วมกับยาเด็กซ์เมทดีโตมิดีนสามารถควบคุมความเจ็บปวดได้ดีกว่า ให้ระยะเวลาการสลบที่ ยาวนานกว่า น าสลบได้รวดเร็วกว่าการใช้ยาเคตามีนร่วมกับยาไซลาซีน อย่างไรก็ตามยาทั้งสองกลุ่มส่งผลกระทบทั้งต่อระบบ หมุนเวียนเลือดและการหายใจ ส่งผลให้อัตราการหายใจและอัตราการเต้นของหัวใจลดลงอย่างมีนัยส าคัญ ด้วยเหตุนี้การใช้ยาทั้ง สองกลุ่มควรมีการใช้อย่างระมัดระวังในผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject.classification |
Veterinary |
|
dc.subject.classification |
Professional, scientific and technical activities |
|
dc.title |
A comparison of ketamine combined with dexmedetomidine and ketamine combined with xylazine on analgesia in rabbits |
|
dc.title.alternative |
การเปรียบเทียบผลการใช้เคตามีนร่วมกับเด็กซ์เมทดีโตมิดีนและเคตามีนร่วมกับไซลาซีนในการระงับความปวดในกระต่าย |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Veterinary Surgery |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|