DSpace Repository

Viability analysis of rice husk power plant for rice miller

Show simple item record

dc.contributor.advisor Parames Chutima
dc.contributor.author Pakkachet Boonyaridh
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
dc.date.accessioned 2024-02-05T10:12:18Z
dc.date.available 2024-02-05T10:12:18Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.uri https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84278
dc.description Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2014
dc.description.abstract As Thailand’s economic has steadily growth, it also brings an increase in electricity demand. Furthermore, the increasing of demand, it could be foreseen that the cost of electricity would also increase. To sufficiency increase the domestic power generation, government has a policy to shift the power generator to private companies or other minor companies to reduce cost of investment by government. Rice miller has produced husk by product of milling rice which could be used as biomass fuel for electricity generation. This thesis aim to present a method of how to select the appropriate machine and equipment for biomass power generator. In this case study, the systems taken into consideration are gasification and general system that use biomass fuel to generate steam for moving the turbine. Project evaluation consist of determine Life Cycle Cost (LCC) through capital recovery and operating/maintenance cost, salvage value and social cost. These two different systems were taken for comparison. The result of LCC evaluation shows that in case of the power generator scale 500 KW, gasification system has least life cycle cost.
dc.description.abstractalternative จากสถานการณ์ที่มีแนวโน้มการขยายตัวทางเศรษฐกิจจะเติบโตอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีผลทำให้ความต้องการของไฟฟ้าเพิ่มขึ้นตามมา นอกจากนี้ผลกระทบจากปริมาณอุปสงค์ที่เพิ่มสูงขึ้น นี้เป็นที่คาดการณ์ได้ว่าจะส่งผลทำให้ค่าไฟฟ้าเพิ่มขึ้นตามไปด้วย เพื่อที่จะขยายการผลิตไฟฟ้าในประเทศให้เพียงพอแก่ความต้องการ รัฐบาลจึงมีนโยบายที่จะแสวงหา กำลังการผลิตไฟฟ้าจากเอกชน หรือ ผู้ผลิตรายย่อยเพื่อลดภาระการลงทุนของภาครัฐ ตามแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า ซึ่งเชื้อเพลิงชีวมวล เช่น แกลบ ถือว่าเป็นทางเลือกหนึ่งที่อยู่ในนโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุนการใช้พลังงานทางเลือก อีกทั้งโรงสีข้าวจะมีแกลบที่ได้จากการสีข้าวเหลือออกมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งสามารถเอาใช้ในการผลิตเป็นพลังงานได้ ดังนั้นวิทยานิพนธ์นี้จะมุ่งประเด็นมาที่การวิเคราะห์ในการเลือกเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบชีวมวล สำหรับบริษัทกรณีศึกษา ที่จะสนใจในการลดต้นทุนการผลิต โดยใช้แกลบ ระบบที่สามารถผลิตไฟฟ้าจากชีวมวลที่จะนำมาวิเคราะห์ในบทความนี้ มี 2 ระบบ คือ ระบบผลิตไฟฟ้าที่ กระบวนการแปรสภาพเป็นแก๊ส (Gasification) และ ระบบที่ใช้กันโดยทั่วไปคือ ใช้การเผาไหม้ชีวมวลให้เกิดความร้อนแล้วนำไปผลิตไอน้ำเพื่อหมุนเทอร์ไบน์ เพื่อผลิตไฟฟ้า เพื่อประเมินความคุ้มค่าของการดำเนินงานดังกล่าว จะดำเนินการด้วยวิธีการประเมินต้นทุนตลอดวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Cost: LCC) ซึ่งจะปรกอบด้วยต้นทุนการลงทุนเริ่มต้น ต้นทุนการบำรุงรักษา มูลค่าซาก และ ต้นทุนทางสังคม โดยจะนำต้นทุนทั้งหมดเหล่านี้ มาเทียบกัน ซึ่งปรากฏว่า ในการผลิตกระแสไฟฟ้าที่ขนาด 500 KW ระบบผลิตไฟฟ้าที่ กระบวนการแปรสภาพเป็นแก๊ส (Gasification) มีต้นทุนดังกล่าวต่ำที่สุด
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject.classification Engineering
dc.subject.classification Engineering
dc.subject.classification Electricity, gas, steam and air conditioning supply
dc.title Viability analysis of rice husk power plant for rice miller
dc.title.alternative ความเหมาะสมในการติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจากแกลบในโรงสีข้าว
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Engineering
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Engineering Management
dc.degree.grantor Chulalongkorn University


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record