dc.contributor.advisor |
Kornrawee Aiemsomboom |
|
dc.contributor.advisor |
Narongsak Puanglarp |
|
dc.contributor.advisor |
Sumrarn Bunnajirakul |
|
dc.contributor.author |
Ekthida Thongdet |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Science |
|
dc.date.accessioned |
2024-02-05T10:35:02Z |
|
dc.date.available |
2024-02-05T10:35:02Z |
|
dc.date.issued |
2023 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84377 |
|
dc.description |
Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2023 |
|
dc.description.abstract |
Amphora sp. is one of the interesting microalgae due to its rapid growth, high lipid content, ranging from 40-60% of dry biomass, suitability as live food for commercial aquatic animal larvae such as shrimp and abalone. The objective of this study is to evaluate the potential of Amphora sp. isolated from four different locations in the Gulf of Thailand: Sichang Island (ASC), Samae Sarn Island (ASS), Pranburi (APB), and Laem Yai (ALY) as immunostimulant in Pacific white shrimp (Litopenaeus vannamei) diet. Four Amphora sp. isolations were cultured and compared productivity. The results showed that ASC and ALY had higher productivity, lipid content and polyunsaturated fatty acid composition compared to the other 2 strains. These ASC and ALY were chosen for optimum culture condition experiment, varied with 3 light intensities and 2 medium concentrations. The results showed that ALY cultured with medium light intensity with F/20 medium can produce higher biomass, saturated fatty acids, and important unsaturated fatty acids than the other culture condition. Shrimp fed with 15% of this Amphora sp. for 6 weeks demonstrated the higher survival rate from challenge test than 3 weeks. In addition, the expression of LvALF gene that response for Anti-lipopolysaccharide factors in hepatopancrease have been found. This finding indicated that adding 15% Amphora sp. in shrimp diet may enhance immunity of shrimp infected with V. parahaemolyticus. However further study in immune parameters such as PO and SOD must be included to clarify the mechanism of shrimp immune system. |
|
dc.description.abstractalternative |
Amphora sp เป็นไดอะตอมกลุ่มหนึ่งที่น่าสนใจ เนื่องจากการเจริญเติบโตที่รวดเร็วและมีปริมาณไขมันสูง โดยมีปริมาณเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 40 – 60% ของน้ำหนักแห้ง ประกอบด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่สำคัญต่อสุขภาพของสัตว์น้ำ ทำให้ Amphora sp. เหมาะสมต่อการใช้เป็นอาหารสัตว์น้ำวัยอ่อน เช่น กุ้ง และหอยเป๋าฮื้อ ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพของ Amphora sp ที่แยกได้จากเกาะสีชัง (ASC), เกาะแสมสาร (ASS), ปราณบุรี (APB), และแหลมใหญ่ (ALY) อ่าวไทย เพื่อใช้เป็นสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันในอาหารของลูกกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) โดย Amphora sp. ที่แยกได้จากทั้ง 4 แห่ง ถูกนำมาเลี้ยงด้วยน้ำทะเลความเค็ม 30 ppt เติมอาหาร F/2 medium ในขวดแก้วขนาด 1 ลิตร และใช้แผ่นอะคริลิกใสเป็นวัสดุยึดเกาะ ผลการศึกษาพบว่า ASC และ ALY ให้ผลผลิตดีที่สุดเมื่อเลี้ยงเป็นเวลา 6 วัน โดยมีปริมาณไขมัน และองค์ประกอบของกรดไขมันสูงที่สุด โดยเฉพาะกรดไขมันไม่อิ่มตัว ในวันที่ 6, 9, และ 13 เมื่อเปรียบเทียบกับ Amphora sp. ที่แยกได้จากที่อื่นในสภาวะการเลี้ยงเดียวกัน ดังนั้น ASC และ ALY จึงถูกนำไปศึกษาสภาวะการเลี้ยงที่แตกต่างกัน 6 สภาวะ ได้แก่ 3 ระดับความเข้มแสง และ 2 ระดับความเข้มข้นของอาหาร F/2 medium ผลการศึกษาพบว่า ALY ที่เลี้ยงด้วยระดับความเข้มแสงระดับกลางและอาหาร F/20 ให้ผลผลิต ปริมาณไขมัน และองค์ประกอบของกรดไขมันที่สูงที่สุด และสภาวะการเลี้ยงดังกล่าวถูกนำไปใช้เพื่อผลิต ALY และผสมลงในอาหารกุ้งสำหรับการทดสอบศักยภาพในการใช้ Amphora sp. เป็นสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันในอาหารกุ้งต่อไป ผลการทดสอบพบว่าการผสม Amphora sp. ลงในอาหารกุ้ง 15% ช่วยให้อัตรารอด และน้ำหนักเฉลี่ยของกุ้งดีกว่าการผสมอาหารในระดับอื่น โดยกุ้งที่ได้รับอาหารผสม Amphora sp. เป็นเวลา 6 สัปดาห์ มีความต้านทานเชื้อ Vibrio parahaemolyticus ดีกว่า 3 สัปดาห์ และที่ 6 สัปดาห์กุ้งมีการแสดงออกของยีน LvALF B ใน hepatopancrease ซึ่งเป็นยีนที่ทำหน้าที่สร้าง Anti-lipopolysaccharide factors เพื่อกำจัดแบคทีเรีย ดังนั้นจึงอาจจะสรุปได้ว่าการใช้ Amphora sp. เป็นสารเสริมในอาหารกุ้งในอัตรา 15% เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ อาจช่วยเพิ่มอัตรารอดของกุ้งเมื่อได้รับเชื้อแบคทีเรีย V. parahaemolyticus อย่างไรก็ตามควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในพารามิเตอร์สำคัญ เช่น PO และ SOD ซึ่งเป็นพารามิเตอร์ทางภูมิคุ้มกันที่สำคัญ เพื่อทราบกลไกการเป็นสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันของไดอะตอมที่ชัดเจนมากขึ้น |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject.classification |
Agricultural and Biological Sciences |
|
dc.subject.classification |
Agricultural and Biological Sciences |
|
dc.subject.classification |
Agricultural and Biological Sciences |
|
dc.subject.classification |
Agriculture,forestry and fishing |
|
dc.subject.classification |
Biology and biochemistry |
|
dc.title |
The use of diatoms (Amphora sp.) As immunostimulant in pacific white shrimp (Litopenaeus vannamei) diet |
|
dc.title.alternative |
การใช้ไดอะตอม (Amphora sp.) เพื่อเป็นสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันในอาหารกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei) |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Doctor of Philosophy |
|
dc.degree.level |
Doctoral Degree |
|
dc.degree.discipline |
Marine Science |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|