dc.contributor.advisor |
เก็จวลี พฤกษาทร |
|
dc.contributor.advisor |
มะลิ หุ่นสม |
|
dc.contributor.author |
ภาณุวัฒน์ วงษ์ยงน้อย |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2024-02-05T10:38:41Z |
|
dc.date.available |
2024-02-05T10:38:41Z |
|
dc.date.issued |
2566 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84436 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2566 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ศึกษาการผลิตไฮโดรเจนและการลดสีจากน้ำกากส่าจากอุตสาหกรรมผลิต
เอทานอล โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงไทเทเนียมไดออกไซด์เจือ
ทอง (Au/TiO2) ตัวแปรที่ศึกษาคือ ร้อยละโดยน้ำหนัห
ของ Au ต่อ TiO2 ที่ 0.1 0.3 0.5 และ 0.7 การเจือจางสารละลายน้ำกากส่า
ที่ 0 50 100 และ 150 เท่า ร้อยละโดยปริมาตรของสารล่าโฮล
ในช่วง 10 15 และ 20 และปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงต่อปริมาตรสารละลาย
ในช่วง 2 3 4 และ 5 กรัมต่อลิตร พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่ร้อยละ 0.3 โดยน้ำหนัก
ของ Au ต่อ TiO2 (0.3Au/TiO2) สามารถผลิตไฮโดรเจนได้มากที่สุดคือ 210 ไมโคร
โมลต่อกรัม และการลดสีร้อยละ 64.4 ที่ภาวการณ์เจือจางสารละลายน้ำกาก
ส่า 100 เท่า ปริมาณของสารล่าโฮลชนิดเอทานอลที่ร้อยละ 15 โดยปริมาตร ปริมาณ
ตัวเร่งปฏิกิริยา 3 กรัมต่อลิตร และความเข้มแสง 4.5 มิลลิวัตต์ต่อตาราง
เซนติเมตร เนื่องจากทองที่เติมสามารถลดแถบช่องว่างพลังงานของ TiO2 ทำให้
สามารถดูดกลืนแสงได้กว้างขึ้นทั้งช่วงของแสงยูวีและแสงที่ตามองเห็นได้ อีกทั้ง
โลหะที่สัมผัสกับสารกึ่งตัวนำ จะสร้างกำแพงชอทท์กี้จึงสามารถลดการรวมกลุ่มของ
คู่อิเล็กตรอนและโฮล และทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมในการผลิตไฮโดรเจนและ
ลดสีได้ |
|
dc.description.abstractalternative |
This research was carried out to produce hydrogen and remove color from dis
tillery slop wastewater using gold doped titanium dioxide (Au/TiO2) photocata
lysts. The investigated parameters were the Au loading on the TiO2 (0.1 - 0.7
wt.%), dilution of distillery slop wastewater (0 - 150 time), hole scavenger conc
entration (10 – 20 vol.%) and photocatalyst loading (2 – 5 g/l). It was found th
at the synthesized Au/TiO2 photocatalyst with 0.3 wt.% of Au (0.3Au/TiO2) ex
hibited a simultaneous H2 production and color reduction approximately 210
µmol/g of H2 and 64.4% respectively using a 100-
time diluted wastewater with 15 vol.% ethanol, c
atalyst loading of 3 g/L, reaction time of 4 h and light intensity 4.5 mW/cm2. T
his is because the added gold can reduce the band gap energy, thus promoting
a wide range of light absorption. Besides, the added gold can initiate the Schot
ting barrier at the Au-
TiO2 interface, which can reduce the recombination rate of electron-
hole pair, thus promoting the H2 production and color removal. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject.classification |
Chemical Engineering |
|
dc.subject.classification |
Water supply; sewerage, waste management and remediation activities |
|
dc.title |
การผลิตไฮโดรเจนจากน้ำกากส่าด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงไทเทเนียมไดออกไซด์เจือทอง |
|
dc.title.alternative |
Hydrogen production from distillery slop by gold-doped titanium dioxide photocatalyst |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
เคมีเทคนิค |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|