DSpace Repository

การประเมินประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา

Show simple item record

dc.contributor.advisor พิชญ รัชฎาวงศ์
dc.contributor.author สุกานดา แสงใส
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2024-02-05T11:02:08Z
dc.date.available 2024-02-05T11:02:08Z
dc.date.issued 2565
dc.identifier.uri https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84506
dc.description สารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ศึกษาการออกแบบของระบบผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์บนหลังคาแบบโมโนคริสตัลไลน์ จากโปรแกรม PVSyst เพื่อเปรียบเทียบกับปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตได้จริงจากการติดตั้งระบบของโรงงานอุตสาหกรรม ขนาด 223.56 kW ในพื้นที่ตำบลบางโฉลง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ และศึกษาต้นทุนทางการเงินของการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อเปรียบเทียบกับการลดพลังงานไฟฟ้าก่อนและหลังติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคา โดยเปรียบเทียบความเข้มแสงและค่าพลังงานไฟฟ้าจากค่าพยากรณ์จากโปรแกรม PVSyst เทียบกับค่าค่าเข้มแสงจากการเก็บข้อมูลจากอุปกรณ์ Meteonorm ที่ติดตั้งภายในพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรม และพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ในทางทฤษฎี โดยการวิจัยพบว่าความเข้มแสงจากทั้งสองแหล่งมีความคลาดเคลื่อนอยู่ที่ 7.88% ซึ่งทำให้ผู้ที่สนใจต้องการวิเคราะห์ค่าความเข้มแสงในพื้นที่ใกล้เคียงสามารถนำข้อมูลนี้ไปใช้พยากรณ์ผลเพิ่มเติมจากโปรแกรม PVSyst เพื่อเพิ่มความแม่นยำในการพยากรณ์ได้ รวมถึงมีการวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการนำพลังงานไฟฟ้าที่ได้จากการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคา ซึ่งพิจารณาถึงความคุ้มค่าเพื่อให้ได้ผลประหยัดไฟฟ้าและระยะเวลาคืนทุน โดยพบว่าระยะเวลาคืนทุนมีระยะเวลาอยู่ที่ 3 ปี 2 เดือน จนถึง 4 ปี 9 เดือน ขึ้นอยู่กับค่า Ft และหน่วยไฟฟ้าที่ผู้ใช้ไฟสามารถนำไปใช้ได้
dc.description.abstractalternative This research investigates the design of a monocrystalline solar rooftop power generation system using PVSyst and compares it with the actual electricity production from a 223.56 kW industrial factory in Bang Chalong, Samut Prakan Province. It examines the financial costs of installing the system and its impact on electricity consumption. The study compares forecasted light intensity and electric power values from PVSyst with measured data from the Meteonorm device, revealing a 7.88% discrepancy in luminous intensity values. The findings help improve accuracy in nearby luminous intensity predictions using PVSyst. The research also assesses the cost-effectiveness of solar rooftop power generation, indicating a payback period ranging from 3 years and 2 months to 4 years and 9 months, depending on Ft value and electricity usage. This study enhances understanding of monocrystalline solar power system design and economic feasibility for industrial applications.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject.classification Energy
dc.subject.classification Electricity, gas, steam and air conditioning supply
dc.subject.classification Electricity and energy
dc.title การประเมินประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา
dc.title.alternative Evaluation of electricity generation from rooftop solar photovoltaic
dc.type Independent Study
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline เทคโนโลยีและการจัดการพลังงาน
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Grad - Independent Studies [269]
    สารนิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย ตั้งแต่ปีการศึกษา 2562 เป็นต้นไป

Show simple item record