dc.contributor.advisor |
ลัญฉกร วุฒิสิทธิกุลกิจ |
|
dc.contributor.advisor |
พรฤดี เนติโสภากุล |
|
dc.contributor.author |
ศิวนาถ เจียรวงศ์ตระกูล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2024-04-17T09:58:32Z |
|
dc.date.available |
2024-04-17T09:58:32Z |
|
dc.date.issued |
2566 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84772 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2566 |
|
dc.description.abstract |
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาห้องปฏิบัติการวิจัยโทรคมนาคมของสาขาสื่อสาร ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าในโลกเสมือนผ่านการจำลองจากสถานที่จริง ที่ตั้งอยู่ชั้น 13 ของอาคารเจริญวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นช่องทางสื่อการสอนออนไลน์อีกทางเลือกหนึ่งสำหรับเรียนรู้เนื้อหาเกี่ยวกับสัญญาณทางวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร โดยอาศัยกิจกรรมการจับคู่ระหว่างฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์กับรูปสัญญาณในรูปแบบของเกม แพลตฟอร์มการเรียนรู้ที่จัดทำขึ้นสามารถรองรับผู้เล่นจำนวนหลายรายด้วยระบบโฟตอน ฟิวชัน และผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้ผ่านเว็บบราวเซอร์โดยใช้เทคโนโลยีเว็บจีแอล จากผลการศึกษาพบว่า ห้องปฏิบัติวิจัยโทรคมนาคมในโลกเสมือน เป็นแพลตฟอร์มที่ผู้เรียนผู้สอนสามารถใช้ช่วยสนับสนุนการเรียนการสอนเกี่ยวกับทฤษฎีของสัญญาณได้ มีข้อดีตรงที่ผู้เรียนได้รับประสบการณ์การเรียนรู้สมัยใหม่ที่ให้ความเพลิดเพลินใจ ทำให้สามารถจดจำได้ดีมากขึ้นและเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข นับเป็นการเพิ่มช่องทางในการเรียนการสอนให้อีกหนึ่งช่องทางที่มีประสิทธิภาพ ไม่จำกัดจากระยะทาง อันประโยชน์ต่อการช่วยลดการแพร่ระบาดของโรคระบาดโควิด 19 ได้อีกด้วย |
|
dc.description.abstractalternative |
This thesis is designed to develop a Telecommunications Research Laboratory in the virtual world through simulation from a real location located in the research laboratory of the Communications division, Department of Electrical Engineering, located on the 13th floor of the Charoen Wisawakam Building, Faculty of Engineering Chulalongkorn University. The objective of this thesis is to be an alternative online teaching media channel for learning content about electrical communication engineering signals by using the activity of matching between mathematical functions and signal images in the platform of a game. The learning platform created can support multiple players with Photon Fusion and can be accessed by learners via a web browser using WebGL technology. The results of this research revealed that the Virtual Telecommunications Research Lab is a platform that teachers can use to support teaching and learning about signal theory. The advantage is that learners receive a modern learning experience that is enjoyable, allowing them to remember better and learn happily. It is considered to be an alternative channel for efficient remote teaching and learning. This is beneficial in helping to reduce the spread of the COVID-19 epidemic as well. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.title |
การพัฒนาห้องปฏิบัติการวิจัยระบบโทรคมนาคมเสมือน |
|
dc.title.alternative |
Development of a virtual telecommunication system research laboratory |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
วิศวกรรมไฟฟ้า |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|