DSpace Repository

การวิจัยและพัฒนาขั้นต่อยอดเพื่อพัฒนาเทคนิคการเลี้ยงหอยหวานระยะวัยรุ่นถึงขนาดตลาดในบ่อดินสำหรับการประยุกต์ใช้ในการทำฟาร์มเลี้ยงหอยหวานบนบกเชิงพาณิชย์ของประเทศไทย : รายงานวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author นิลนาจ ชัยธนาวิสุทธิ์
dc.contributor.author สมภพ รุ่งสุภา
dc.contributor.author วรรณณี แสนทวีสุข
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ
dc.coverage.spatial ไทย
dc.date.accessioned 2009-01-19T09:56:44Z
dc.date.available 2009-01-19T09:56:44Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8696
dc.description.abstract ได้ศึกษาหาอัตราการปล่อยที่เหมาะสมของการเลี้ยงหอยหวานระยะวัยรุ่นแบบชนิดเดียวและแบบเลี้ยงหอยหวานระยะวัยรุ่นร่วมกับสัตว์น้ำชนิดอื่นในบ่อดินขนาดการทดลอง โดยการทดลองที่ 1 ศึกษาผลของอัตราการปล่อยหอยหวาน 5 ระดับ (100, 200, 300, 400 และ 500 ตัวต่อตารางเมตร) ต่อการเจริญและการตายของหอยหวานในการเลี้ยงหอยหวานแบบชนิดเดียวสำหรับการทดลองที่ 2 ได้ศึกษาผลของอัตราการปล่อยของปลากะพงขาว (Lates calcarifer) หรือกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon) หรือกุ้งขาววานาไม (Litopenaeus vanamei) 4 ระดับ (3, 5, 7 และ 10 ตัวต่อตารางเมตร) และอัตราการปล่อยหอยหวานที่ 300 ตัวต่อตารางเมตรต่อการเจริญและการตายของหอยหวานในการเลี้ยงหอยหวานร่วมกับสัตว์น้ำชนิดอื่น ผลการศึกษาพบว่า อัตราการปล่อยหอยหวานที่เหมาะสมของการเลี้ยงหอยหวานแบบชนิดเดียวในบ่อดินคือ 300 ตัวต่อตารางเมตร สำหรับการเลี้ยงหอยหวานระยะวัยรุ่นร่วมกับปลากะพงขาว หรือกุ้งกุลาดำ หรือกุ้งขาววานาไมในบ่อดิน พบว่า อัตราการปล่อยของปลากะพงขาว กุ้งกุลาดำ และกุ้งขาววานาไมที่เหมาะสมไม่ควรเกิน 3 ตัวต่อตารางเมตร และใช้อัตราการปล่อยหอยหวาน 300 ตัวต่อตารางเมตรซึ่งจะไม่มีผลต่อการเจริญและการตายของหอยหวาน en
dc.description.abstractalternative The study was aimed to determine the optimal stocking density for monoculture and polyculture of the hatchery-reared juvenile spotted Babylon, Baylonia areolata, in experimental - scale earthen ponds. The first experiment was to study the effects of 5 stocking densities (100, 200, 300, 400 and 500 snails m[superscript-2]) upon growth and mortality of the spotted babylon under the monoculture. The second experiment was to study the effects of 4 stocking densities (3, 5, 7 and 10 individuals m[superscript-2]) of sea bass (Lates calcarifer), tiger prawn (Penaeus monodon) and white prawn (Litipenaeus vanamei) upon growth and mortality of the spotted babylon under the polyculture of spotted babylon with each animal. Results showed that the optimal stocking density for monoculture of the juveniles spotted Babylon in earthen ponds was 300 snails m[superscript-2]. For polyculture of the spotted Babylon with the seabass or black tiger prawn or white shrimp, the optimal stocking density of each animal was not more than 3 snails m-2 at stocking density of spotted babylon of 300 snails m-2 to minimized the effects on growth and mortality. en
dc.description.sponsorship ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช en
dc.format.extent 491403 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject หอยหวาน -- การเพาะเลี้ยง
dc.title การวิจัยและพัฒนาขั้นต่อยอดเพื่อพัฒนาเทคนิคการเลี้ยงหอยหวานระยะวัยรุ่นถึงขนาดตลาดในบ่อดินสำหรับการประยุกต์ใช้ในการทำฟาร์มเลี้ยงหอยหวานบนบกเชิงพาณิชย์ของประเทศไทย : รายงานวิจัย en
dc.title.alternative Research and development for growing-out of juveniles spotted babylon, babylonia areolata, to marketable sizes in earthen ponds for applications uses in commercial land-based aquaculture in Thailand en
dc.type Technical Report es
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author rsompop@chula.ac.th
dc.email.author wannanee295@hotmail.com


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record