DSpace Repository

รายงานผลการวิจัย การสำรวจโรคอีฟีเมอร์รัลฟีเวอร์ในวัวนม เขตอำเภอมวกเหล็ก

Show simple item record

dc.contributor.author ปราจีน วีรกุล
dc.contributor.author ราตรี วงษ์วัชรดำรง
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2009-01-29T04:47:17Z
dc.date.available 2009-01-29T04:47:17Z
dc.date.issued 2531
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8733
dc.description.abstract ได้ทำการสำรวจหาภูมิคุ้มกันต่อโรคอีฟีเมอร์รัลฟีเวอร์ (Bovine Ephemeral Fever : BEF) ในวัวนมจำนวน 407 ตัว จาก 8 ตำบลในอำเภอมวกเหล็ก จ.สระบุรี โดยใช้วิธี Serum Neutralization (SN) test ผลพบว่าวัวจำนวน 381 ตัว (93.6%) มีภูมิคุ้มกันต่อโรค BEF (SN titer มากกว่า 1:4) และ 26 ตัว (6.4%) ไม่มีภูมิคุ้มกันโรคนี้ การกระจายของการเลี้ยงวัวนมในเขตตำบลต่างๆนี้ พบว่าการระบาดของโรค BEF มีอยู่มากโดยเฉพาะตำบลลำพญากลาง (100%) ตำบลลำสมพุง (100%) ตำบลมิตรภาพ (98%) และตำบลมวกเหล็ก (94.7%) ส่วนตำบลซับสนุน แสลงพัน และหนองย่างเสือมีอัตราการระบาดอยู่ระหว่าง 65-70% ไม่สามารถแยกไวรัสนี้โดยการฉีดส่วนเม็ดเลือดขาวจากวัวป่วยจำนวน 8 ตัว โดยวิธีฉีดเข้าสมองลูกหนูอายุ 1 วัน อย่างไรก็ตามจากการเก็บตัวอย่างซีรั่มจากวัวรุ่น ป่วยโดยอาการป่วยคล้ายโรค BEF จำนวน 6 ตัว ในขณะไข้สูงและ 10 วันต่อมา (pair ซีรั่ม) ในขณะที่วัวป่วยสร้างภูมิคุ้มกันโรคต่อโรค BEF นี้แสดงว่าโรค BEF มีการระบาดจริงในท้องที่เขตอำเภอมวกเหล็ก en
dc.description.abstractalternative Prevalence of Bovine Ephemeral Fever (BEF) disease was studies in dairy cattle raised in Muag-Lek district (8 subdistricts), Saraburi Province, by using serum neutralization (SN) test. There were 381 out of 407 serum samples (93.6%) had BEF-SN titer more than 1:4, while 26 samples (6.4%) were seronegative. The disease was highly endemic in Lumpayaklang (100%), Lumsompung (100%), Mittaphab (98%) and Muag-Lek (94.7%) subdistricts. Prevalence of BEF in Nong-Yang-Suea, Subsaun and Salang-phan subdistricts were ranged between 65-70%. Attempt to isolate BEF virus from 8 sick animals using cerebral inoculation of buffy coat cells in one-day-old suckling mice was failed. Paired-serum sample from another 6 sick cattle which showed sings resembled BEF were collected. All of them revealed significantly increased in BEF-SN titers. These results indicate that BEF is endemic in this region. en
dc.description.sponsorship ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช en
dc.format.extent 8349623 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject โคนม -- โรค en
dc.subject โรคไข้สามวันของโคกระบือ en
dc.title รายงานผลการวิจัย การสำรวจโรคอีฟีเมอร์รัลฟีเวอร์ในวัวนม เขตอำเภอมวกเหล็ก en
dc.title.alternative Prevalence of bovine ephemeral fever disease in dairy cattle at Muag-Lek district en
dc.type Technical Report es
dc.email.author prachin.v@chula.ac.th
dc.email.author ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record