dc.contributor.author |
สุรเดช โชติอุดมพันธ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.date.accessioned |
2009-04-28T08:28:51Z |
|
dc.date.available |
2009-04-28T08:28:51Z |
|
dc.date.issued |
2548 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารอักษรศาสตร์. 34,2(ก.ค.-ธ.ค. 2548),84-106 |
en |
dc.identifier.issn |
0125-4820 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8909 |
|
dc.description |
สัจนิยมมหัศจรรย์กับวาทกรรมความเป็นอื่น -- สัจนิยมมหัศจรรน์ในวรรณกรรมไทย -- จากกระแสวัฒนธรรมที่แตกต่างสู่มุมมองอันมหัศจรรย์ |
en |
dc.description.abstract |
ในวงการวรรณกรรมไทยนั้น รูปแบบการประพันธ์แนวสัจนิยมมหัศจรรย์นับได้ว่าได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก นักเขียนในวงการไม่ว่าจะเป็นกนกพงศ์ สงสมพันธุ์ เรวัตร พันธุ์พิพัฒน์ ศิริวร แก้วกาญจน์ ประชาคม ลุนาชัย และอุเทน พรมแดง ต่างสร้างสรรค์งานเขียนที่มีกลิ่นอายของสัจนิยมมหัศจรรย์ ทำให้มีการกล่าวขวัญถึงวรรณกรรมแนวนี้อย่างต่อเนื่อง เป็นที่ทราบกันดีว่าสัจนิยมมหัศจรรย์เป็นรูปแบบการประพันธ์ที่มีต้นกำเนิดจากต่างประเทศและมีชุดแนวคิดและอุดมการณ์รองรับชัดเจน ในแง่หนึ่งอาจจะกล่าวได้ว่าสัจนิยมมหัศจรรย์เป็นวาทกรรมที่มีกรอบและขอบเขต มีพัฒนาการที่ตอบโต้กับวาทกรรมสัจนิยม บทความนี้จึ้งมุ่งเน้นศึกษาการนำรูปแบบการประพันธ์ดังกล่าวมาใช้ในบริบทวรรณกรรมไทย เพื่อวิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างในเชิงวาทกรรมแห่งความเป็นอื่น โดยมุ่งศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมไทย 3 เรื่อง คือ โลกที่กระจัดกระจาย ของศิริวร แก้วกาญจน์ “แม่มดแห่งหุบเขา” ของกนกพงศ์ สงสมพันธุ์ และหมานคร ของคอยนุช |
en |
dc.format.extent |
1764844 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.relation.ispartofseries |
สนุกนึกพิลึกการละคร |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
สัจนิยมมหัศจรรย์ (วรรณกรรม) |
|
dc.subject |
วรรณกรรมไทย |
|
dc.title |
สัจนิยมมหัศจรรย์ในวรรณกรรมไทยกับวาทกรรมแห่งความเป็นอื่น |
en |
dc.type |
Article |
es |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|