DSpace Repository

จริยธรรมชาวกรุงเทพมหานครปัจจุบัน : รายงานผลการวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์
dc.contributor.author ชัยพร วิชชาวุธ
dc.contributor.author ธีระพร อุวรรณโณ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.coverage.spatial กรุงเทพมหานคร
dc.date.accessioned 2009-05-28T07:51:57Z
dc.date.available 2009-05-28T07:51:57Z
dc.date.issued 2527
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8936
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายดังนี้คือ 1) เพื่อสำรวจความรู้ความเข้าใจทางจริยธรรม, ปฏิกิริยาจริยธรรม และพฤติกรรมจริยธรรม 2) เพื่อเปรียบเทียบค่าศักยภาพพฤติกรรมตามตัวแปรต้น สถานภาพ เพศ ระดับการศึกษา อาชีพของครอบครัว ขนาดของครอบครัว รายได้ของครอบครัว และภูมิลำเนา กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยนี้มี 3,884 คน ซึ่งคัดเลือกโดยการสุ่มหลายขั้นตอนประกอบด้วย นักเรียนชั้นประถมปีที่ 6 นักเรียนมัธยม 3 นักเรียนชั้น มศ.5 นิสิตนักศึกษาจากห้าสถาบัน นักธุรกิจ ลูกจ้าง และผู้ใช้แรงงาน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้เครื่องมือ 2 ชนิด คือ แบบสอบถามชีวประวัติและแบบสำรวจที่พัฒนาขึ้นโดยคณะผู้วิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลวิเคราะห์โดยวิเคราะห์หาค่าสถิติพื้นฐานจากคะแนนดิบเป็นรายพฤติกรรมและวิเคราะห์ค่าศักยภาพพฤติกรรมเป็น 3 ตอน ดังนี้ 1) วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว 2) วิเคราะห์เปรียบเทียบพหุคูณด้วยวิธีของเชฟเฟ 3) วิเคราะห์หาค่าปฏิสัมพันธ์ระหว่างสถานภาพ เพศ และภูมิลำเนาโดยใช้โปรแกรมแปรปรวน 3 ทาง แบบ 6x2x2 ผลการวิจัยที่สำคัญมีดังต่อไปนี้ 1. ค่าศักยภาพพฤติกรรมที่สูงสุดตามตัวแปรต้น 7 ตัว สอดคล้องกันของพฤติกรรมจริยธรรมแต่ละประเภท มีดังนี้ 1) ตนเอง : การรักษาสุขภาพ 2) สังคม : การปฏิบัติต่อผู้อาวุโสในทางที่ดี 3) เศรษฐกิจ : การบริจาค 4) การเมือง : กลุ่มพฤติกรรมความซื่อสัตย์ทางการเมือง 5) สิ่งแวดล้อม : การสะสมสิ่งมีค่า 2. ค่าศักยภาพพฤติกรรมที่ต่ำสุดตามตัวแปรต้น 7 ตัว สอดคล้องกันได้แก่ 1) ตนเอง : การลุ่มหลงอบายมุข 2) สังคม : การให้ร้ายป้ายสี 3) การประกอบมิจฉาชีพที่ผิดกฎหมาย 4) การเมือง : การแจ้งความเท็จ 5) สิ่งแวดล้อม : การทำลายพันธุ์สัตว์ 3. ผลการวิจัยพบว่าตัวแปรทั้ง 7 ตัว มีผลทำให้เกิดความแตกต่างในค่าศักยภาพพฤติกรรมของพฤติกรรมจริยธรรมทั้ง 5 ประเภท 4. ผลการวิจัยพบว่ามีค่าปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสถานภาพ เพศ และภูมิลำเนาในบางพฤติกรรมในพฤติกรรมจริยธรรมแต่ละประเภท
dc.description.abstractalternative The purpose of this research were (1) to survey moral cognition, moral reaction and moral behavior and (2) to compare moral behavior potential according to status, sex, education level, occupation of the family, size of the family, income of the family and residential area. The sample of this survey consisted of 3, 884 Bangkokian which included pupils from Pathomsuksa 6, Mathayom 3 and Mathayomsuksa 5, College Students from five institutions, businessman, employers, and labourers. The subjects were selected by a multi stage sampling method. Data were collected through a questionnaire for biographical data and through a scale developed by the researchers. Raw scores and behavior Potential scores were analyzed using the following methods: 1) the one way analysis of variance, 2) the Scheffe’s method of multi comparison, and 3) a 6x2x2 factorial design to examine interaction between three factors : status, sex and residential area. The major findings of the study indicate that; 1. The highest behavior potential scores on moral behaviors for the 7 different independent variables in each moral category are as follows. 1) Self-directed moral behavior: Health care, 2) Social moral behavior : respecting seniority, 3) Economic moral behavior : donation loyalty 4) Political moral behavior : group of items political behavior 5) Environment – Directed moral behavior : Accum lating valuable properties 2. The lowest behavioral potential score on moral behaviors for the 7 different independent variables in each moral category are as follows: 1) Self-directed moral behavior : indulging in dissolute behavior 2) Social moral behavior : calumny 3) Economic moral behavior : illegal dishonest livelihood 4) Political moral behavior : making false statements 5) Environment – Directed moral behavior : destruction of animal species. 3.The seven independent variable significantly affected more behavior potential scoris for the five categories of moral behaviors. 4. There were some interactions in the 6x2x2 factorial design in each category of moral behavior.
dc.description.sponsorship ทุนอุดหนุนเพื่อเพิ่มพูนและพัฒนาประสิทธิภาพทางวิชาการ en
dc.format.extent 16184735 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject จริยศาสตร์ en
dc.subject จริยธรรม en
dc.subject กรุงเทพฯ -- ภาวะสังคม en
dc.title จริยธรรมชาวกรุงเทพมหานครปัจจุบัน : รายงานผลการวิจัย en
dc.title.alternative Morality of contemporary Bangkokians en
dc.title.alternative จริยธรรมของชาวกรุงเทพมหานครปัจจุบัน
dc.type Technical Report es
dc.email.author Puntip.S@chula.ac.th
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author Theeraporn.U@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record