DSpace Repository

มาตรการทางกฎหมายใช้เพื่อการบรรลุสู่สหภาพเศรษฐกิจและการเงินของสหภาพยุโรป

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศักดา ธนิตกุล
dc.contributor.author กฤติยา ปิ่นทองคำ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2009-06-11T02:30:55Z
dc.date.available 2009-06-11T02:30:55Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.isbn 9741302894
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9021
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 en
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาถึงมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งนำมาปรับใช้แก่ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปในการดำเนินการเพื่อบรรลุสู่สหภาพเศรษฐกิจและการเงินว่าในการดำเนินการของสหภาพยุโรปเพื่อบรรลุสู่สหภาพเศรษฐกิจและการเงินนั้นมีหลักเกณฑ์และมาตรการทางกฎหมายเข้ามากำกับควบคุมอย่างไรข้าง และในการดำเนินการของประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปเพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าวนั้น มีองค์กรกลางเข้ามากำกับดูแลการดำเนินการอย่างไรมาตรการต่างๆ ที่มีอยู่ภายใต้สนธิสัญญาประชาคมเศรษฐกิจยุโรปและสนธิสัญญาสหภาพยุโรปนั้นเป็นมาตรการที่สมบูรณ์หรือเหมาะสมแก่ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปแต่ละประเทศหรือไม่ บทบัญญัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องภายใต้สนธิสัญญานั้นมีปัญหาในการตีความและการปรับใช้หรือไม่ ตลอดจนทำการศึกษาวิเคราะห์ถึงผลกระทบในทางกฎหมายประกอบกับผลในเชิงเศรษฐศาสตร์และผลกระทบจากการที่สหภาพยุโรปบรรลุสู่สหภาพเศรษฐกิจและการเงินต่อประเทศไทยและกลุ่มประเทศอาเซียน ในส่วนท้ายของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ จะเป็นการสรุปถึงผลการศึกษาถึงมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการบรรลุสู่สหภาพเศรษฐกิจและการเงินว่าเพียงพอหรือไม่ และควรมีการเพิ่มเติมอย่างไร ตลอดจนศึกษาสรุปถึงปัญหาจากบทบัญญัติของกฎหมายว่าจะเป็นอุปสรรคในการบรรลุสู่สหภาพเศรษฐกิจและการเงินโดยสมบูรณ์หรือไม่ และนำเสนอแนวทางในการแก้ไขและลดอุปสรรคเพื่อเป็นการเอื้อต่อการบรรลุสู่สหภาพเศรษฐกิจและการเงินโดยสมบูรณ์ต่อไป en
dc.description.abstractalternative The study area for this thesis is to study that how the legal measures are applied to the Member States of European Union in carrying out to achieve the European Economic and Monetary Union (EMU) and how the central institute, i.e. European Central Bank, carries out its duties for the EMU. This thesis is also studied whether the legal measures or mechanisms under the related Treaties are expedient or complete for the status quo of each Member State in European Union. Furthermore, this thesis covers the study of all related provisions specified in the related Treaties whether such provisions are free and clear in application and construing or not, including analysis for the impact in legal area, in economic concern as well as the impact for Thailand and ASEAN on the basis of related Treaties and related rule of law. Finally, this thesis is concluded the outcome of study on the legal measure and legal mechanism whether such measure and mechanism are expedient or sufficient or those should be further developed. In addition, this thesis is proposed a direction to solve the problem and to decrease the obstacle, which the author believes that it is able to further support the accomplishment of EMU. en
dc.format.extent 3741047 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การเงินระหว่างประเทศ en
dc.subject ปริวรรตเงินตรา en
dc.subject เงินยูโร en
dc.subject ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป en
dc.title มาตรการทางกฎหมายใช้เพื่อการบรรลุสู่สหภาพเศรษฐกิจและการเงินของสหภาพยุโรป en
dc.title.alternative Legal measures used to achieve the European economic and Monetary Union en
dc.type Thesis es
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Sakda.T@chula.ac.th, tsakda@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record