DSpace Repository

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 : ศึกษาเฉพาะกรณี การคุ้มครองผู้เสียหายและพยานที่เป็นเด็กในการสอบสวน

Show simple item record

dc.contributor.advisor วีระพงษ์ บุญโญภาส
dc.contributor.advisor ตระกูล วินิจฉัยภาค
dc.contributor.author จิตติมา ธงไชย
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.coverage.spatial ไทย
dc.date.accessioned 2009-06-11T02:53:19Z
dc.date.available 2009-06-11T02:53:19Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.isbn 9741311168
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9034
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 en
dc.description.abstract ศึกษาถึงหลักกฎหมาย แนวความคิดและทฤษฎี รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคที่มีผลกระทบต่อการบังคับใช้กฎหมาย ตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 20) พ.ศ. 2542 ซึ่งกฎหมายดังกล่าวได้รับเอาแนวความคิดจาก ระบบกระบวนการยุติธรรมของต่างประเทศมาเป็นแนวทาง และกำหนดมาตรการป้องกันและคุ้มครองสิทธิเด็ก ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก โดยได้กำหนดรูปแบบ วิธีการและขั้นตอน ให้มีลักษณะแตกต่างจากวิธีการสอบสวน การฟ้องและการพิจารณาคดีอาญาทั่วไป จากการศึกษาพบว่า การบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวในส่วนที่เกี่ยวกับ วิธีการสอบสวนในชั้นเจ้าพนักงานตำรวจ ซึ่งนำเอามาตรการหรือแนวทางของต่างประเทศมาใช้ในประเทศไทยนั้น ยังไม่บรรลุผลตามเจตนารมณ์ได้ เนื่องจากขาดความพร้อมทั้งในด้านสถานที่ อุปกรณ์ บุคคลากร วิธีการทำงานและงบประมาณ ตลอดจนรูปแบบองค์กรที่มีส่วนรับผิดชอบอย่างเหมาะสม จึงทำให้การบังคับใช้กฎหมายขาดประสิทธิภาพเท่าที่ควร ซึ่งอาจทำให้การคุ้มครองผู้เสียหายและพยานที่เป็นเด็ก ขาดประสิทธิภาพและไม่มีประสิทธิผลตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย จึงเห็นควรจัดให้มีหน่วยงานพิเศษในทุกองค์กร มีบุคคลากรที่ได้รับการฝึกอบรมเฉพาะด้าน และกำหนดหลักเกณฑ์ทางกฎหมายและแนวทางปฏิบัติร่วมกันให้ชัดเจน ตลอดจนมีกฎหมายคุ้มครอง ระเบียบข้อบังคับเพื่อความปลอดภัย ของผู้เสียหายและพยานที่เป็นเด็ก เพื่อให้สอดคล้องกับการป้องกันและคุ้มครอง สิทธิเด็กตามมาตรฐานสากล en
dc.description.abstractalternative To study any enforcement problems on the Criminal Procedure Code Amendment Act [No.20] B.E. 2542. To make our child protection measures be up to international standards and correspond with the treaty on Children's Right, the amended Act has adopted procedures which has been used in other foreign countries as guild-line. Those prodedures are special and different from normal criminal investigation and prosecution procedures. In my study, I found that the enforcement of the investigation procedures which originally are foreign is not so effective as it is meant to be. This is due to lacking of suitable places for investigation, equipment, personel, practical measures and budgets. Lacking of suitable organized units which are accountable for the job is also one of the reasons. This makes the Act ineffective and has an effect on child victims and child witness' protection. I suggest that there should be a special unit in each organization concerned which armed with special trained staffs. The preatical measures should be clearly adopted and the safety of child victims and child witnesses should be assured as in the international standards. en
dc.format.extent 1407873 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject รัฐธรรมนูญ -- ไทย en
dc.subject พยานเด็ก en
dc.subject เด็กที่ถูกทารุณ en
dc.subject สิทธิเด็ก en
dc.subject กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา en
dc.title รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 : ศึกษาเฉพาะกรณี การคุ้มครองผู้เสียหายและพยานที่เป็นเด็กในการสอบสวน en
dc.title.alternative Constitution B.E. 2540 : case study protection of child victim and witness during the investigation stage en
dc.type Thesis es
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record