DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและจากหัวหน้างานกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ โดยมีความกตัญญูกตเวทีเป็นตัวแปรกำกับ

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชัยพร วิชชาวุธ
dc.contributor.author วิธัญญา วัณโณ, 2522-
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2006-05-27T06:20:05Z
dc.date.available 2006-05-27T06:20:05Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.isbn 9741735774
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/91
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การและความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างานกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของพนักงานที่มีความกตัญญูกตเวทีแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างได้แก่พนักงานขององค์การธุรกิจเอกชน 3 แห่งที่มีความกตัญญูกตเวทีระดับสูงและระดับต่ำจำนวน 265 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) มาตรวัดการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ 2) มาตรวัดการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างาน 3) มาตรวัดพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ และ 4) มาตรวัดความกตัญญูกตเวที ผลการวิจัยพบว่า พนักงานที่มีความกตัญญูกตเวทีระดับสูงมีความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การกับความสำนึกในหน้าที่และความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างานกับการช่วยเหลือ ผู้อื่นโดยไม่คำนึงถึงตนเองในทางบวกในระดับที่สูงกว่าพนักงานที่มีความกตัญญูกตเวทีระดับต่ำ (p<.01 ทั้ง 2 กรณี) แต่พนักงานที่มีความกตัญญูกตเวทีระดับสูงและพนักงานที่มีความกตัญญูกตเวทีระดับต่ำมีความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การกับการช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่คำนึงถึงตนเองและความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างานกับความสำนึกในหน้าที่ไม่แตกต่างกัน en
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study the relationship between perceived organizational support and organizational citizenship behavior and the relationship between perceived supervisor support and organizational citizenship behavior of employees with different gratefulness levels. The subjects were 265 employees of three business organizations. The instruments were 1) The Perceived Organizational Support Scale, 2) The Perceived Supervisor Support Scale, 3) The Organizational Citizenship Behavior Scale, and 4) The Gratefulness Scale. It was found that the strength of the relationship between perceived organizational support and conscientiousness and the strength of the relationship between perceived supervisor support and altruism were greater for employees with high gratefulness than those with low gratefulness (p<.01 in both cases). However, in the high-gratefulness group, correlation between perceived organizational support and altruism and correlation between perceived supervisor support and conscientiousness did not differ from those in the low-gratefulness group. en
dc.format.extent 698917 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject พฤติกรรมองค์การ en
dc.subject การจูงใจในการทำงาน en
dc.subject ความภักดีของลูกจ้าง en
dc.subject ความพอใจในการทำงาน en
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและจากหัวหน้างานกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ โดยมีความกตัญญูกตเวทีเป็นตัวแปรกำกับ en
dc.title.alternative Relationships between perceived organizational and supervisory supports and organizational citizenship behavior: the moderating effect of gratefulness en
dc.type Thesis en
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ en
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record