DSpace Repository

การศึกษาผลการระงับปวดของการฉีดบิวพรีนอร์ฟีนไฮโดรคลอไรด์เข้าช่อง epidural ภายหลังการผ่าตัดกระดูกในสุนัข

Show simple item record

dc.contributor.advisor วรพันธุ์ ณ สงขลา
dc.contributor.advisor มาริษศักร์ กัลล์ประวิทธ์
dc.contributor.author ครรชิต พงษ์เพชร
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2009-07-29T11:58:07Z
dc.date.available 2009-07-29T11:58:07Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.isbn 9740311954
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9385
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 en
dc.description.abstract การศึกษาฤทธิ์ระงับปวดของการฉีดบิวพรีนอร์ฟีนไฮโดรคลอไรด์เข้าช่อง epidural ในสุนัขที่ได้รับการผ่าตัดแก้ไขกระดูกหักจำนวน 28 ตัว ซึ่งแบ่งเป็น 4 กลุ่มๆ ละ 7 ตัว กลุ่มที่ 1 ได้รับ normal saline ฉีดเข้าช่อง epidural เป็นกลุ่มควบคุม กลุ่มที่ 2, 3 และ 4 ได้รับบิวพรีนอร์ฟีนขนาด 0.005, 0.01 และ 0.015 มก. ต่อ กก. ตามลำดับ ประเมินผลโดยการวัดอัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ ความดันโลหิต systolic, diastolic และ mean ค่าก๊าซในโลหิต และคะแนนความเจ็บปวดโดยใช้ระบบการประเมินของ The Colorado State University พบว่า กลุ่มที่ 3 มีคะแนนความเจ็บปวดต่ำกว่ากลุ่มควบคุม กลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 4 ที่ 120 นาที ภายหลังให้ยาบรรเทาปวดก่อนเริ่มผ่าตัด แล้วลดลงตามระยะเวลาที่ผ่านไป โดยไม่พบความแตกต่างจากกลุ่มควบคุม เช่นเดียวกับค่าเฉลี่ยของอัตราการเต้นของหัวใจ กลุ่มที่ได้รับบิวพรีนอร์ฟีนมีค่าเฉลี่ยของความดัน systolic, diastolic และ mean ลดลง ค่าเฉลี่ยของอัตราการหายใจอยู่ในช่วงพิสัยปกติ ในขณะที่ค่าเฉลี่ยของ PaCO2 และ HCO3- ต่ำกว่าปกติทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ได้รับบิวพรีนอร์ฟีน en
dc.description.abstractalternative Analgesic effect of epidural buprenorphine hydrochloride after fracture repair was studied in twenty eight dogs randomly divided into four groups of seven dogs. Group I received normal saline epidurally and was used as control group. Group II, III and IV epidurally received 0.005, 0.01 and 0.015 mg/kg of buprenorphine, respectively, before beginning surgery. Heart rate, respiratory rate, blood gases, systolic, diastolic and mean arterial pressures including pain score, system developed by The Colorado State University, were used to assess analgesic effect. Group III had average pain score and heart rate significantly lesser than those values of other groups at the early recovery period (120 minutes after buprenophine or saline administration). Pain scores did not significantly differ among control and treatment after 120 minutes. Arterial blood pressures (systolic, diastolic and mean) were slightly decreased postoperatively only in buprenorphine groups. Respiratory rate was within the normal range while PaCO2 and HCO3- of all groups were lower than the normal range en
dc.format.extent 1960440 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ยาแก้ปวด en
dc.subject บิวพรีนอร์ฟีน en
dc.subject สุนัข -- ศัลยกรรม en
dc.title การศึกษาผลการระงับปวดของการฉีดบิวพรีนอร์ฟีนไฮโดรคลอไรด์เข้าช่อง epidural ภายหลังการผ่าตัดกระดูกในสุนัข en
dc.title.alternative Study of analgesic effect of epidural buprenorphine hydrochloride after fracture repair in dogs en
dc.type Thesis es
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline ศัลยศาสตร์ทางสัตวแพทย์ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.email.advisor Marissak.K@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record