Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิภา อุตมฉันท์-
dc.contributor.authorปิยะธิดา นีละคุปต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-08-13T08:14:54Z-
dc.date.available2009-08-13T08:14:54Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741757069-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10016-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการทำวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเลือกเปิดรับและการแสวงหาข้อมูลข่าวสารจากโทรทัศน์ของคนญี่ปุ่นที่พำนักอยู่ในประเทศไทย และอุปสรรคและปัญหาที่เกิดขึ้นในการเลือกเปิดรับและการแสวงหาข้อมูลข่าวสารผ่านโทรทัศน์ของคนญี่ปุ่นที่พำนักอยู่ในประเทศไทย ซึ่งกลุ่มตัวอย่างมีความต่างกันในเรื่องของอาชีพ และระยะเวลาที่พำนักอยู่ในประเทศไทย จำนวน 265 คน จาก 300 คน ใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณเป็นหลักระเบียบวิธีวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ซึ่งประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSSผลการวิจัยพบว่า คนญี่ปุ่นที่พำนักอยู่ในประเทศไทย มีอุปสรรคในเรื่องของภาษาเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในการเปิดรับและการแสวงหาข้อมูลข่าวสารจากสื่อโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์ไทย และคนญี่ปุ่นเห็นว่า ในช่วงที่พำนักอยู่ในประเทศไทย สถานีโทรทัศน์ไทยเพียงอย่างเดียว ตอบสนองความต้องการด้านข้อมูลข่าวสารไม่เพียงพอ และไม่ค่อยมีความจำเป็นเท่าที่ควรเมื่อเทียบกับทางช่อง UBC และช่อง NHK จึงมีผลทำให้คนญี่ปุ่นที่พำนักอยู่ในประเทศไทย เลือกที่จะเปิดรับชมและแสวงหาข้อมูลข่าวสารจากสื่อโทรทัศน์ทาง UBC และช่อง NHK มากกว่าที่จะเปิดรับจากสถานีโทรทัศน์ไทยen
dc.description.abstractalternativeThe object of this thesis aiming to study at the television information seeking of 265 Japanese residing in Thailand by different occupation and staying period inThailand. By using quantity research method as a tool with questionnaire and analyze the data by SPSS program on percentage. The concluding results of this study found that the Japanese residing in Thailand had many problem (obstacles) in language difficulty, especially in watching and seeking the required information from Thai television stations. For Japanese residing in Thailand , Thai television stations cannot provide as much news and information that they required as UBC and NHK stations. So they choose to watch these 2 stations rather than watching Thai television stations.en
dc.format.extent1181834 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1079-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการแสวงหาสารสนเทศen
dc.subjectชาวญี่ปุ่น -- ไทยen
dc.subjectการเปิดรับข่าวสารen
dc.subjectข่าวโทรทัศน์ -- ไทยen
dc.titleพฤติกรรมการแสวงหาข้อมูลข่าวสารจากสื่อโทรทัศน์ของคนญี่ปุ่นที่พำนักอยู่ในประเทศไทยen
dc.title.alternativeTelevision information seeking of the Japanese residing in Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVipha.U@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.1079-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piyatida.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.