Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10141
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจันทร์จรัส เรี่ยวเดชะ-
dc.contributor.advisorอรรณพ คุณาวงษ์กฤต-
dc.contributor.authorชินา สุภากรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-15T07:02:21Z-
dc.date.available2009-08-15T07:02:21Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741737629-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10141-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractวิเคราะห์ข้อมูลการทดสอบพันธุ์และข้อมูลทางด้านการสืบพันธุ์ ของฝูงสุกรพันธุ์แท้จากฟาร์มเอกชนซึ่งเป็นได้แก่ พันธุ์ลาร์จไวท์ แลนด์เรซ ดูรอค และยอร์กเชียร์ จำนวน 739, 710, 317 และ 272 ตัว ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2536-2544 ด้วยวิธี Restricted Maximum Likelihood (REML) ผลการวิเคราะห์ทั้ง 4 พันธุ์ มีค่าอัตราพันธุกรรมของลักษณะความหนาไขมันสันหลัง ลักษณะจำนวนลูกแรกเกิดทั้งหมด และลักษณะจำนวนลูกแรกเกิดมีชีวิต มีค่าอยู่ระหว่าง 0.4791 ถึง 0.5138, 0.1119 ถึง 0.1474 และ 0.0864 ถึง 0.1396 ตามลำดับ ค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและลักษณะปรากฏระหว่างลักษณะความหนาไขมันสันหลังและจำนวนลูกแรกเกิดทั้งหมด มีค่าอยู่ระหว่าง -0.0515 ถึง 0.1411 และ 0.0117 ถึง 0.1237 ตามลำดับ และค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและลักษณะปรากฏ ระหว่างลักษณะความหนาไขมันสันหลังและจำนวนลูกแรกเกิดมีชีวิต มีค่าอยู่ระหว่าง -0.0516 ถึง 0.1541 และ 0.0111 ถึง 0.1250 ตามลำดับ การคัดเลือกสุกรพ่อแม่พันธุ์ให้มีมันบาง มีผลตอบสนองโดยตรง คือความหนาไขมันสันหลังลดลง มีค่าระหว่าง 0.0001+-0.0001 ถึง 0.0042+-0.0019 มิลลิเมตรต่อปี และผลตอบสนองทางอ้อมต่อลักษณะจำนวนลูกแรกเกิดทั้งหมด (TB[subscript 1]) และจำนวนลูกแรกเกิดมีชีวิต (BA[subscript 1]) ลำดับครอกที่ 1 มีค่าเท่ากับ 0.0056+-0.0004 และ 0.0055+-0.0005 ตัวต่อปี ตามลำดับ เมื่อใช้ข้อมูล 3 ครอก ผลตอบสนองทางอ้อมต่อลักษณะจำนวนลูกแรกเกิดทั้งหมด (TB[subscript 1-3]) และจำนวนลูกแรกเกิดมีชีวิต (BA[subscript 1-3]) มีค่าเท่ากับ -0.0053+-0.0014 และ -0.0020+-0.0011 ตัวต่อปี ตามลำดับ เมื่อใช้ข้อมูล 5 ครอก ผลตอบสนองทางอ้อมต่อลักษณะจำนวนลูกแรกเกิดทั้งหมด (TB[subscript 1-5]) และจำนวนลูกแรกเกิดมีชีวิต (BA[subscript 1-5]) มีค่าเท่ากับ -0.0027+-0.0005 และ -0.0001+-0.0004 ตัวต่อปี ตามลำดับ ผลการศึกษาสรุปได้ว่า การคัดเลือกให้ความหนาไขมันสันหลังลดลง ไม่มีผลต่อจำนวนลูกแรกเกิดทั้งหมด และจำนวนลูกแรกเกิดมีชีวิต ในลำดับครอกที่ 1 (TB[subscript 1] และ BA[subscript 1]) ในสุกรทุกพันธุ์ แต่มีผลให้จำนวนลูกแรกเกิดมีชีวิตของแม่สุกรที่ให้ลูกถึงลำดับครอกที่ 3 (BA[subscript 1-3]) ในสุกรพันธุ์ยอร์กเชียร์ และจำนวนลูกแรกเกิดมีชีวิตของแม่สุกรที่ให้ลูกถึงลำดับครอกที่ 5 (BA[subscript 1-5]) ในสุกรพันธุ์ลาร์จไวท์ และแลนด์เรซลดลงen
dc.description.abstractalternativeAn analysis of data, recorded during 1993 2001, on the performance test and reproductive traits of 2,038 sows (Large White=739, Landrace=710, Duroc=317 and Yorkshire=272) of a commercial pig farm was conducted using multivariate animal model by Restricted Maximum Likelihood (REML). The estimated heritability values ranged from 0.48 to 0.5138 for backfat thickness (BF), from 0.1119 to 0.1474 for total number of pigs born (TB) and from 0.0864 to 0.1396 for number of pigs born alive (BA). The genetic and phynotypic correlations between BF and TB ranged from -0.0515 to 0.1411 and from 0.0117 to 0.1237 respectively. The genetic and phynotypic correlations between BF and BA ranged from -0.0516 to 0.1541 and from 0.0111 to 0.1250 respectively. Selection for decreased backfat thickness had direct selection response ranging from 0.0001+-0.0001 to 0.0042+-0.0019 mm./year. The correlated responses in the first parity for TB[subscript 1] and BA[subscript 1] were 0.0059+-0.0004 and 0.0055+-0.0005 pigs/yr, respectively. Records from sows fulfiling in the first three parities showed the correlated responses for TB[subscript 1-3] and BA[subscript 1-3] as 0.0053+-0.014 and 0.0020+-0.0011 pigs/yr, respectively. In the first five parities, The correlated responses for TB[subscript 1-5] and BA[subscript 1-5] in sows that completed were 0.0027+-0.0005 and 0.0001+-0.0004 pigs/yr, respectively. These results indicated that reducing BF did not affect the first parity performance in any breeds but could result in a decrease in BA[subscript 1-3] of Yorkshire and BA[subscript 1-5] of Large White and Landrace.en
dc.format.extent842310 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสุกร -- การปรับปรุงพันธุ์en
dc.subjectไขมันen
dc.titleผลตอบสนองทางอ้อมของลักษณะขนาดครอกในแม่สุกรที่ถูกคัดเลือกเพื่อลดความหนาไขมันสันหลังen
dc.title.alternativeCorrelated response of litter size in sows selected against backfat thicknessen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการปรับปรุงพันธุ์สัตว์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChancharat.R@Chula.ac.th-
dc.email.advisorannop.k@chula.ac.th-
Appears in Collections:Vet - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
China.pdf822.57 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.