Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10416
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์-
dc.contributor.authorพัชราวลัย ศิลป-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-08-25T06:28:08Z-
dc.date.available2009-08-25T06:28:08Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741723725-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10416-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractารวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรม ประชาธิปไตยของวัยรุ่นตอนปลาย กลุ่มตัวอย่างมีทั้งสิ้นจำนวน 200 คน อายุ 18-21 ปี ศึกษาในมหาวิทยาลัยเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งของภาครัฐบาลและภาคเอกชน สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป มาตรวัดการอบรมเลี้ยงดู ซึ่งพัฒนาโดยคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตามรูปแบบการวิจัยเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูของ Baumrind และแบบวัดพฤติกรรมประชาธิปไตย นำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความถดถอยแบบพหุคูณ (Multiple Regression) ด้วยวิธีการวิเคราะห์แบบขั้นตอน (Stepwise) โดยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS (Statistical Package for Social Science) ผลการวิจัยพบว่า จากการวิเคราะห์ผลข้อมูลด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ความถดถอยแบบพหุคูณ ปรากฏว่า มีตัวแปร 4 ตัวแปร จาก 7 ตัวแปรที่สามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมประชาธิปไตยของวัยรุ่นตอนปลาย ได้ร้อยละ 37.3 ซึ่งได้แก่ปัจจัยดังต่อไปนี้คือ (1) การอบรมเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่ (2) การอบรมเลี้ยงดูแบบใช้อำนาจควบคุม (3) เพศ และ (4) การรับรู้ข่าวสารประชาธิปไตยen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the selected factors related to democratic behavior of late adolescents. The samples consisted of 200 students, aged 18-21 years old from government and private universities in Bangkok: Chulalongkorn University, Thammasat University, Bangkok University, and the University of the Thai Chamber of Commercl. Research instruments were the Personal Data Questionnaire, the Parenting Style Measuring Scale according to Baumrindʼs research, developed by Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, and the Democratic Behavior Measuring Scale. The data were analyzed by stepwise multiple regression.The result shows that 4 from the total 7 variables which account for 37.3 percent of the democratic behavior of late adolescents. Those four variables are (1) Authoritative parenting style (2) Authoritarian parenting style (3) Gender and (4) Media exposure in democracy.en
dc.format.extent987259 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวัยรุ่น -- ไทยen
dc.titleปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมประชาธิปไตยของวัยรุ่นตอนปลายen
dc.title.alternativeSelected factors related to democratic behavior of late adolescentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPuntip.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pacharawalai.pdf964.12 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.