Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10634
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุมพร ปัจจุสานนท์-
dc.contributor.authorเกียรติพร อำไพ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-08-28T08:22:54Z-
dc.date.available2009-08-28T08:22:54Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746389149-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10634-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractปัญหาการออกและการบังคับใช้กฎหมายในเขตต่อเนื่องของประเทศไทย ที่เกิดจากการประกาศเขตต่อเนื่อง เพื่อแก้ไขปัญหาการลักลอบค้าน้ำมันเถื่อนในเขตทางทะเลของประเทศไทยนั้น ประเทศไทยสามารถดำเนินการพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ ที่มีตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยทะเลในเรื่องเขตต่อเนื่องได้ โดยอำนาจรัฐที่ใช้ภายในเขตต่อเนื่องเป็นการใช้เขตอำนาจเหนือเขต ซึ่งในการใช้เขตอำนาจดังกล่าวประเทศไทยสามารถใช้เขตอำนาจได้ในหลายๆ ประการ ได้แก่ เขตอำนาจในการวางกฎเกณฑ์และข้อบังคับในลักษณะการป้องกัน เขตอำนาจในการบังคับใช้สิทธิในการป้องกัน เขตอำนาจในการลงโทษต่อการฝ่าฝืนมาตรการป้องกันทั้งหลายของประเทศไทย ที่ใช้บังคับอยู่ภายในเขตต่อเนื่อง ตลอดจนมีเขตอำนาจในการลงโทษต่อการฝ่าฝืนกฎเกณฑ์และข้อบังคับ ที่เกิดการกระทำความผิดขึ้นภายในเขตต่อเนื่องด้วย อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาเปรียบเทียบแนวทางปฏิบัติของรัฐต่างๆ พบว่ามีแนวทางปฏิบัติของรัฐแบ่งออกเป็น 4 แนวทาง ดังนี้ (1) กลุ่มประเทศที่ออกกฎหมายภายในในลักษณะการขยายกฎหมาย 4 เรื่อง ออกไปใช้บังคับในเขตต่อเนื่องของตน (2) กลุ่มประเทศที่ออกกฎหมายภายในในลักษณะใช้การป้องกันในเขตต่อเนื่อง แต่ไม่มีสิทธิในการลงโทษต่อการกระทำความผิดภายในเขตต่อเนื่อง (3) กลุ่มประเทศที่ออกกฎหมายภายในในลักษณะการวางกฎเกณฑ์ ในการป้องกันและลงโทษต่อการฝ่าฝืนมาตรการป้องกัน (4) กลุ่มประเทศที่ออกกฎหมายในในลักษณะการคัดลอกข้อ 33 แห่งอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล สำหรับแนวทางที่เหมาะสมกับประเทศไทยเกี่ยวกับปัญหาในการออก และการบังคับใช้กฎหมายภายในเขตต่อเนื่อง ได้แก่ แนวทางปฏิบัติของรัฐในกลุ่มที่ 3 ซึ่งในกรณีดังกล่าวประเทศไทยสามารถยึดถือแนวทางปฏิบัติของรัฐ ในกลุ่มเช่นว่านี้เป็นแนวทางที่เหมาะสมในการออก และการบังคับใช้กฎหมายภายในเขตต่อเนื่องของประเทศไทยเอง ซึ่งกฎเกณฑ์และข้อบังคับดังกล่าวจะต้องมีลักษณะเป็นเพียง กฎเกณฑ์ข้อบังคับในลักษณะการป้องกัน ในการเสนอกฎหมายเพื่อให้มีผลใช้บังคับได้ภายในเขตต่อเนื่อง เพื่อแก้ไขปัญหาการลักลอบค้าน้ำมันเถื่อน ในเขตต่อเนื่องของประเทศไทยนั้น ถือได้ว่ามีความเหมาะสมและสอดคล้องกับหลักกฎหมายระหว่างประเทศ ว่าด้วยทะเลในเรื่องเขตต่อเนื่อง และไม่ถือว่าเป็นการขัดต่อเสรีภาพในทะเลของรัฐอื่นจนเกินไปen
dc.description.abstractalternativeAfter contiguous zone declaration have been adopted law enforcement is one of the problem in Thailand. Article 33 of sea law convention 1982 stipulated that in contiguous zone coastal state may exercise the control by insuring preventive measure in the four areas respectively customs, fiscal, immigration, sanitary. Besides, coastal state can punish the law's violation and regulation committed within its territorial sea. The question may be raised whether the coastal state can take punishment for law's violation committed in her contiguous zone. For responding this question comparative study on state practice should be analysed. Our finding based on the fact that there are four categories of state practices: (1) the First categorie, Coastal State can fully exercise jurisdiction in the four areas (2) the Second categorie, Coastal State has no right to take punishment measure against law infringement committed on the contiguous zone. (3) the Third categorie, Coastal State can only take preventive measures including punishment for law's violation on that such measure. (4) the Fourth categorie, Coastal State follow strictly without modification article 33 of the sea law Convention. The author finds that the Third categorie of state practice is proper for Thai position in resolving oil smuggling problem in order to preserve our own interests and in our opinion, these practices are in accordance with the International Law of the Sea.en
dc.format.extent965748 bytes-
dc.format.extent906398 bytes-
dc.format.extent3676692 bytes-
dc.format.extent8015084 bytes-
dc.format.extent1865732 bytes-
dc.format.extent4237522 bytes-
dc.format.extent1753952 bytes-
dc.format.extent2698847 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเขตต่อเนื่อง (กฎหมายทะเล)en
dc.subjectการบังคับใช้กฎหมายen
dc.subjectกฎหมายทะเลen
dc.subjectปิโตรเลียมen
dc.titleปัญหาการออกและการบังคับใช้กฎหมายในเขตต่อเนื่องของประเทศไทย : ศึกษากรณีน้ำมันเถื่อนen
dc.title.alternativeLegislation and law enforcement in the contiguous zone : a case study of oil smuggling in Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kiarttiporn_Um_front.pdf943.11 kBAdobe PDFView/Open
Kiarttiporn_Um_ch1.pdf885.15 kBAdobe PDFView/Open
Kiarttiporn_Um_ch2.pdf3.59 MBAdobe PDFView/Open
Kiarttiporn_Um_ch3.pdf7.83 MBAdobe PDFView/Open
Kiarttiporn_Um_ch4.pdf1.82 MBAdobe PDFView/Open
Kiarttiporn_Um_ch5.pdf4.14 MBAdobe PDFView/Open
Kiarttiporn_Um_ch6.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open
Kiarttiporn_Um_back.pdf2.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.