Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1081
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ชาติประเสริฐ-
dc.contributor.authorศรัณย์ธร ศศิธนากรแก้ว, 2514--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-25T06:10:10Z-
dc.date.available2006-07-25T06:10:10Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745319937-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1081-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ เพื่อหาคำอธิบายทางด้านจิตวิทยาในการอธิบายการรับรู้ การตัดสินใจยอมรับศูนย์บริการสารสนเทศชุมชนของคนในชุมชนชนบทไทยและนำเสนอแบบจำลองในการอธิบายปรากฎการณ์การการรับรู้ การยอมรับ ศูนย์บริการสารสนเทศชุมชนของปัจเจกบุคคลในชุมชนชนบทไทยศึกษาในพื้นที่ 3 ศูนย์ ได้แก่ 1. บ้านฟ่อนเทเลเซ็นเตอร์ 2. ศูนย์คอมพิวเตอร์บ้านสามขา 3. ศูนย์ T-Centre จักราช ใช้ทั้งระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เจาะลึก และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การแจกแจงความถี่ การเสนอตารางแสดงจำนวนและร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานประกอบกับข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์หาความแตกต่างระหว่างผู้ใช้และผู้ไม่ใช้บริการศูนย์ฯด้วยการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยเลขคณิต (T-Test) วิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ โดยใช้โปรแกรม LISREL ผลการวิจัยพบว่าผู้ใช้บริการ ส่วนใหญ่เป็นนักเรียน นักศึกษา ใช้บริการศูนย์ฯ เพื่อการค้นคว้าข้อมูลทำรายงาน ผู้ไม่ใช้บริการส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพรับจ้าง มีรายได้น้อย และการศึกษาต่ำ ไม่มีความจำเป็นในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ใช้และผู้ไม่ใช้บริการ มีระดับการรับรู้ความสามารถของตนในการใช้คอมพิวเตอร์ การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้ความง่าย ความเข้ากันได้และเจตนาเชิงพฤติกรรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ค่าสัมประสิทธิ์มีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยสำตัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ทุกค่า ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของตัวแปรสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้ศูนย์ฯ พบว่า ตัวแปรสาเหตุมีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการใช้ศูนย์ มีอิทธิพลในทางบวกทุกค่า คือ การรับรู้ความสามารถของตนในการใช้คอมพิวเตอร์ เจตนาเชิงพฤติกรรม และการรับรู้ประโยชน์ มีขนาดอิทธิพลเท่ากับ 0.29ม 0.20 และ 0.14 ตามลำดับ ส่วนตัวแปรการรับรู้ความสามารถของตนในการใช้คอมพิวเตอร์ การรับรู้ประโยชน์ ความง่ายในการใช้ และความเข้ากันได้ มีอิทธิพลทางตรงต่อตัวแปรเจตนาเชิงพฤติกรรม ด้วยขนาดอิทธิพลเท่ากับ 0.23, 0.11, 0.03 และ 0.27 ตามลำดับ พฤติกรรมการใช้ศูนย์ฯ นอกจากการใช้ทางตรงแล้ว มีการใช้ทางอ้อมผ่านวิทยุชุมชน ผ่านเจ้าหน้าที่ผู้มีบทบาทถ่ายทอดข้อมูลสู่ชุมชน (facilitator) การเรียน กศน. และกิจกรรมอื่นๆen
dc.description.abstractalternativeThis research study aims at examining psychological factors relating to the perception and the decision to use telecenters as well as proposing a model to explain the telecenter adoption phenomenon of individuals in Thai rural areas. The study looks at 3 telecenters : 1) Ban Fon Telecenter 2) Ban Sam Kha 3) T-Centre Jakkarach by using both quantitative and qualitative research methods. Data were collected using questionnaires and in-depth Interview and were analyzed and presented as frequency distributions, percentages, means and standard deviations along with data from the interviews. The differences between the telecenter users and the non users were tested using t-test, Pearson product moment correlation and linear multiple regression using LISREL The results indicate that most of the users were students and college students who came to the telecenter for their study-related tasks. The non-users were primarily employees with low income and low education and,thus, information technology was not a necessity for them. Both users and non users differed significantly at 0.01 level in terms of computer self-efficacy, perceived usefulness, perceived ease of use, compatibility, and behavioral intention .In addition, all variables significantly indicated positive correlation at 0.01 level. Path analysis found that the variables which had positive direct effect towards using behavior were computer self-efficacy (0.29), behavioral intention (0.20) and perceived usefulness (0.14). Computer self-efficacy, perceived usefulness, perceived ease of use and compatibility had direct influence towards behavioral intention at 0.23, 0.11, 0.03 and 0.27 accordingly. Apart from direct usage there was indirect usage through the community radio, facilitator, non- formal education and other community activities.en
dc.format.extent1196432 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.1190-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโครงการศูนย์บริการสารสนเทศชุมชนen
dc.subjectการสื่อสารในการพัฒนาชนบทen
dc.subjectการแพร่กระจายนวัตกรรมen
dc.subjectการรับรู้en
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศen
dc.subjectนวัตกรมทางเทคโนโลยีen
dc.subjectสารสนเทศท้องถิ่นen
dc.titleการรับรู้และการยอมรับศูนย์บริการสารสนเทศชุมชนในชุมชนชนบทไทยen
dc.title.alternativePerception and adoption of telecenters in Thai rural communityen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาเอกen
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorDuangkamol.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.1190-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saranthorn.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.