Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11021
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประเสริฐ อัครประถมพงศ์-
dc.contributor.authorเบญจมาศ จินตะเกษกรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-08T06:05:45Z-
dc.date.available2009-09-08T06:05:45Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.issn9741750404-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11021-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractศึกษาแนวทางในการพัฒนาดัชนีวัดผลงานรายบุคคลแบบดุลยภาพ สำหรับสถาบันค้นคว้าและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม และนำดัชนีวัดผลงานรายบุคคลแบบดุลยภาพที่พัฒนาเป็นพื้นฐาน ในการประเมินผลพนักงานเพื่อปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่องต่อไป ในการพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานรายบุคคลแบบดุลยภาพ เริ่มจากผู้บริหารและหัวหน้าฝ่ายพร้อมทั้งผู้เกี่ยวข้อง ร่วมกันระดมสมองในการคิดแผนที่กลยุทธ์ จากปัจจัยสู่ความสำเร็จและวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ พร้อมกำหนดดัชนี้ชี้วัดในแต่ละมุมมองตามหลักการประเมินผลแบบ Balanced Scorecard หลังจากนั้นให้ทำการคัดเลือกดัชนีชี้วัดด้วยเกณฑ์ต่างๆ ทีกำหนดขึ้นว่าดัชนี้ชี้วัดใดเหมาะสมและสอดคล้องกับ นโยบายการดำเนินงานที่จะเลือกมาดำเนินการก่อน สำหรับแต่ละฝ่าย (Department) เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานของสถาบัน (Corporate) ซึ่งต้องมีการเชื่อมโยงบวัตถุประสงค์ในแต่ละมุมมองและผู้รับผิดชอบ ให้สัมพันธ์กับดัชนีชี้วัด (KPIs) ที่คัดเลือก เพื่อแสดงความเชื่อมโยงว่าพนักงานทุกคน ทุกตำแหน่ง ปฏิบัติงานในหน้าที่ของตนเองในแนวทางที่สอดคล้องกับ นโยบายและเป้าหมายของสถาบัน ผลลัพธ์ของงานวิจัยฉบับนี้ คือตัวแบบดัชนีชี้วัดผลงานรายบุคคลแบบดุลยภาพ และบทสรุปรวมผลการประเมินความเหมาะสมและข้อเสนอแนะ ของการพัฒนาดัชนีชี้วัดเพื่อนำไปใช้เป็นตัวแบบในการประเมินผลพนักงาน ซึ่งเป็นวิธีการที่ตอบสนองการกระจาย กลยุทธ์สู่การปฏิบัติได้อย่างชัดเจนวิธีหนึ่ง หลังจากได้มีการประเมินความเหมาะสมดัชนีชี้วัด โดยผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องพบว่า คะแนนที่ได้จากการประเมินผลเพิ่มขึ้นจาก 16.4 คะแนน ใน 60 คะแนนเป็น 51.6 คะแนน ใน 60 คะแนน นอกจากการใช้ตัวแบบดัชนี้ชี้วัดผลงานรายบุคคลแบบดุลยภาพที่ได้พัฒนาแล้ว มีข้อเสนอแนะในเรื่องจำเป็นที่จะต้องมีการประเมินบุคลากรด้านอื่นด้วย เพื่อให้เกิดแรงกระตุ้นสู่การพัฒนาบุคลากรอย่างแท้จริง ซึ่งควรจะต้องบมีการวิจัยและพัฒนาต่อไปen
dc.description.abstractalternativeTo approach the development of personal balanced scorecard for research and development institute of industrial production technology. By studying the case of activities of Research and Development Institute in Industrial Production Technology. In this thesis, the personal balanced scorecard worksheets are determined for used as the basis for personal evaluation and continuously improvement. In the development of personal balanced scorecard worksheets first is to gather informations, including of strategy maps assignment on the executive quality policy. Then, select the KPIs in each balanced scorecard perspectives, which are agreed with the requirements by evaluating with the criterion of conformance, of the quality policy, of coporate goal and of department goal. Determin relationship between objectives and job of positions. Ten KPIs are selected from PBSC-Relationships. After the KPIs are selected for personal balanced scorecard worksheets or PBSC-Worksheet. The results of are personal balanced scorecard worksheet. The results show that the score of evaluating during before and after in increased from 16.4 from 60 marks to 51.6 from 60 marks. The comment of this thesis is not enough for only used personal balanced scorecard to personal evaluated, but also focusing of performance of activities. It shall be development of learning and growth to learning organization in the next research to approach the best practices.en
dc.format.extent2165234 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการประเมินผลงานen
dc.subjectการบริหารคุณภาพโดยรวมen
dc.subjectการวัดผลงานen
dc.titleการพัฒนาดัชนีชี้วัดผลงานรายบุคคลแบบดุลยภาพ สำหรับสถาบันค้นคว้าและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรมen
dc.title.alternativeDevelopment of personal balanced scorecard for research and development institute of industrial production technologyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPrasert.A@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Benchamat.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.