Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11141
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริจันทร์ ทองประเสริฐ-
dc.contributor.advisorสุวิทย์ ธรรมเทวินทร์-
dc.contributor.authorฮุชเซ็น นิยมเดชา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-14T07:36:36Z-
dc.date.available2009-09-14T07:36:36Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741430035-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11141-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาหาแนวทางการจัดการการใช้พลังงานอย่างประหยัด และมีประสิทธิภาพ จากการศึกษาพบว่าการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิตในโรงงานมีค่าสูงกว่ามาตรฐานที่โรงงานกำหนดทำให้ต้องดำเนินการ ปรับปรุงการจัดการด้านพลังงานในโรงงานให้ดีขึ้น โดยมีแนวทางการปรับปรุงการจัดการด้านพลังงานดังนี้ 1. การปรับปรุง องค์กรให้สอดคล้องกับการจัดการพลังงาน 2. การเผยแพร่นโยบายพลังงาน 3. ตรวจรักษาบริโภคพลังงานในส่วนงานต่าง ๆ ของโรงงาน 4. การคัดเลือกมาตรการหลักในการประหยัดพลังงาน 5. การจัดระบบการตรวจสอบและประเมินผลการใช้พลังงาน 6. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและรับฟังข้อเสนอแนะจากพนักงานในการจัดการพลังงาน จากการดำเนินการปรับปรุงการจัดการ ด้านพลังงานในโรงงานในการทำวิจัยครั้งนี้ ส่งผลให้โรงงานสามารถใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามเป้าหมายที่กำหนด ขึ้นในโรงงาน โดยทราบได้จากอัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อปริมาณผลผลิตทีได้ และอัตราการใช้พลังงานความร้อนต่อ ปริมาณผลผลิต ERL. ที่มีค่าลดลงได้ตามมาตรฐานของโรงงาน ซึ่งจากการดำเนินงานปรับปรุงดังกล่าวส่งผลให้ต้นทุนอัตรา ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าต่อปริมาณผลผลิตลดลง 21.73% และอัตราค่าใช้จ่ายด้านพลังงานความร้อนต่อปริมาณผลผลิต ERL. ลดลง 24.06% คิดเป็นต้นทุนค่าใช้จ่ายที่ลดลงได้ 4.15 ล้านบาท.en
dc.description.abstractalternativeThe main objective of this thesis is to study and analyze the methods of energy management in efficiency energy saving process. The study revealed that the specific energy consumption is higher than standard guaranteed figures. In order to conserve the energy the following steps in energy management were carried out: 1. Improved organization that takes care of energy saving process. 2. Promoted policy in energy management. 3. Carried out energy audit for the whole plant. 4. Selected the suitable measures in energy saving process. 5. Monitored and evaluated the results form the measures implemental. 6. Promoted the participation and suggestion in energy saving from staff. The energy management improvement of transformer manufacturing industry results including the energy utilization efficiency by reducing consumption for product and specific heat per unit ERL product. From these improvement processes, the specific electrical cost per unit of product is lower by 21.73%, and thermal cost per ERL unit is reduced by 24.06% and saving in energy cost is about 4.15 million baht.en
dc.format.extent3904468 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1617-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงงาน -- การใช้พลังงานen
dc.subjectอุตสาหกรรมหม้อแปลงไฟฟ้า -- การควบคุมต้นทุนการผลิตen
dc.titleการลดต้นทุนค่าดำเนินการโรงงานโดยการจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพกรณีศึกษา : โรงงานผลิตหม้อแปลงไฟฟ้าen
dc.title.alternativeFactory overhead cost reduction through energy efficiency management : a case study of the transformer manufacturing industryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSirichan.T@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1617-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Hussen.pdf3.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.