Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11631
Title: ผลของการกำหนดความตั้งใจในการอ่านบนจอภาพคอมพิวเตอร์ ด้วยแถบกำกับข้อความที่มีต่อความเข้าใจในการอ่าน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านภาษาไทยต่ำ
Other Titles: Effects of reading attention control on a computer screen by highlighting text upon reading comprehension of prathom suksa five students with low-reading achievement in Thai language
Authors: วงษ์วิวัธน์ พันธ์ประสิทธิ์เวช
Advisors: สุกรี รอดโพธิ์ทอง
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Sugree.R@chula.ac.th
Subjects: การอ่านขั้นประถมศึกษา
ภาษาไทย -- คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
Issue Date: 2539
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ศึกษาผลของการกำหนดความตั้งใจในการอ่านบนจอภาพคอมพิวเตอร์ด้วยแถบกำกับข้อ ความที่มีต่อความเข้าใจในการอ่าน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านภาษาไทยต่ำ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในปีการศึกษา 2539 จากโรงเรียนพญาไท สังกัดสำนักงานการประถมศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน โดยกลุ่มทดลองคือ กลุ่มที่ได้รับการกำหนดความตั้งใจในการอ่านด้วยแถบกำกับข้อความและกำหนดเวลา ในการอ่าน กลุ่มควบคุมคือ กลุ่มที่ไม่ได้รับการกำหนดความตั้งใจในการอ่านแต่ได้รับการกำหนดเวลาในการ อ่านเท่ากับกลุ่มทดลอง ผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านภาษาไทยต่ำ เมื่ออ่านข้อความบนจอภาพคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการกำหนดความตั้งใจในการอ่าน และไม่ได้รับการกำหนดความตั้งใจในการอ่าน มีผลสัมฤทธิ์ของความเข้าใจในการอ่านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Other Abstract: Examines the effects of reading attention control on a computer screen by highlighting text upon reading comprehension of prathom suksa five students with low-reading achivement in Thai language. The subjects were sixty students from Payathai School in the academic year of 1996, devided into two groups, experimental group with reading attention control by highlighting text and time control, and control group without reading attention control. The result of this research showed no significance difference at .05 between the subject with reading attention control and without reading attention control.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2539
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: โสตทัศนศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11631
ISBN: 9746347748
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wongwiwat_Ph_front.pdf891.42 kBAdobe PDFView/Open
Wongwiwat_Ph_ch1.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
Wongwiwat_Ph_ch2.pdf1.76 MBAdobe PDFView/Open
Wongwiwat_Ph_ch3.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Wongwiwat_Ph_ch4.pdf744.19 kBAdobe PDFView/Open
Wongwiwat_Ph_ch5.pdf909.79 kBAdobe PDFView/Open
Wongwiwat_Ph_back.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.