Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11871
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุมพล รอดคำดี | - |
dc.contributor.author | นนทวรรณ ดิษฐแย้ม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2009-12-18T03:59:52Z | - |
dc.date.available | 2009-12-18T03:59:52Z | - |
dc.date.issued | 2540 | - |
dc.identifier.isbn | 9746390015 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11871 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 | en |
dc.description.abstract | เข้าใจถึงเทคนิคการสร้างความหมายในรูปแบบ และเนื้อหารายการความรู้ขนาดสั้นทางโทรทัศน์ โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่ใช้กรอบแนวคิดในการศึกษา ได้แก่ แนวคิดเชิงสัญญะวิทยา แนวคิดเรื่องสื่อมวลชนกับการสร้างความเป็นจริงทางสังคม แนวคิดเรื่องการจำแนกประเภทรายการโทรทัศน์ แนวคิดเรื่องรายการโทรทัศน์ประเภทให้ความรู้ และแนวคิดเรื่องการออกแบบสารโทรทัศน์ ผลการวิจัยพบว่า รายการความรู้ขนาดสั้นทางโทรทัศน์ในปัจจุบันมีรูปแบบการนำเสนอ 4 แบบ คือ รูปแบบบรรยาย รูปแบบพูดคุย รูปแบบสัมภาษณ์ และรูปแบบละคร และมีเนื้อหาทั้งหมด 8 ประเภท คือ สุขภาพอนามัย ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิทยาการและเทคโนโลยี สังคม ท่องเที่ยว เชิงชูสถาบันกษัตริย์ และความรู้ทั่วไป สำหรับการสร้างความหมายพบว่า รายการความรู้ขนาดสั้นทางโทรทัศน์แต่ละประเภทในปัจจุบันมีการสร้างความหมาย หรืออีกนัยหนึ่งคือความเป็นจริงที่นำเสนอต่อผู้ชม 3 ลักษณะคือ 1. รายการสุขภาพอนามัย วิทยาการและเทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สังคม และความรู้ทั่วไป เน้นการเสนอความหมายตรงที่เป็นความจริงอย่างตรงไปตรงมา ตามที่เราสัมผัสได้ในโลกแห่งความเป็นจริง 2. รายการศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย เน้นการเสนอความหมายแฝงที่เป็นความจริงในรูปสัญลักษณ์ เป็นความจริงในโลกแห่งความหมายที่โทรทัศน์สร้างขึ้น 3. รายการเชิดชูสถาบันกษัตริย์ เน้นการเสนอความหมายแฝงทั้งที่เป็นความจริงอย่างแท้จริง และความจริงที่สร้างขึ้นในรูปสัญลักษณ์ เพื่อสร้างความรู้สึกและจิตสำนึกแก่ผู้ชม นอกจากนี้ยังพบอีกว่ารายการที่นำเสนอความจริงอย่างตรงไปตรงมา เช่น รายการสุขภาพอนามัย รายการวิทยาการและเทคโนโลยี และรายการความรู้ทั่วไป ได้มีการสร้างความหมายแฝงที่เกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการในฐานะผู้สนับสนุนรายการ โดยเป็นการแอบแฝงการโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการ ตลอดจนหน่วยงานเข้าไปในเนื้อหารายการ เพื่อประโยชน์ทางด้านการดำเนินธุรกิจด้วย | en |
dc.description.abstractalternative | To understand the created meaning technique in terms of styles and contents of educational television programs. This research is conducted qualitatively based on various theories and concepts i.e. semiology, mass communication and social reality, television programs distribution, educational television programs and television messages design. The result shows that the educational television programs nowadays are classified into 4 types of presentation ; that are narration, straight talk, interviews and drama. Eight contents also included : health, tradition and culture, environment and natural resources, knowledge and technology, society, tourism, exalting the royal institution and general knowledge. In creating meaning, it shows that the each of the Educational Television Programs nowadays has created meaning or on the other hand presented the reality in 3 aspects. Those are programs on (1) health, knowledge and technology, natural resources and environment, society and general knowledge focusing on presenting the denotation directly as we see in the real world (2) traditional and culture programs focusing on presenting the connotation in the form of symbol. It's the reality in the world of meaning that is created by television (3) programs to exalt the royal institution focusing on connotation which is also real. It is the reality that is created in the form of symbol to build up emotion and consciousness among the receivers. Above all, it has been found that television programs which present the reality directly such as health, technology and general education also put some connotation about products and service in the form of acknowledging sponsors. The advertising of products and service has been also included in the content of the programs for business profit. | en |
dc.format.extent | 787159 bytes | - |
dc.format.extent | 751054 bytes | - |
dc.format.extent | 893555 bytes | - |
dc.format.extent | 783570 bytes | - |
dc.format.extent | 1142313 bytes | - |
dc.format.extent | 1991858 bytes | - |
dc.format.extent | 854755 bytes | - |
dc.format.extent | 746554 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | รายการโทรทัศน์ -- ไทย | en |
dc.subject | สัญศาสตร์ | en |
dc.subject | รายการโทรทัศน์ -- แง่สังคม -- ไทย | en |
dc.subject | สื่อมวลชน -- แง่สังคม -- ไทย | en |
dc.title | การวิเคราะห์เทคนิคการสร้างความหมายในรายการความรู้ ขนาดสั้นทางโทรทัศน์ | en |
dc.title.alternative | Analysis of created meaning technique in educational television programs | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การสื่อสารมวลชน | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Joompol.R@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nontawan_Di_front.pdf | 768.71 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nontawan_Di_ch1.pdf | 733.45 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nontawan_Di_ch2.pdf | 872.61 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nontawan_Di_ch3.pdf | 765.21 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nontawan_Di_ch4.pdf | 1.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nontawan_Di_ch5.pdf | 1.95 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nontawan_Di_ch6.pdf | 834.72 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Nontawan_Di_back.pdf | 729.06 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.