Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12144
Title: | การใช้ซิลิกาจากแกลบเป็นสารลดการติดกันของฟิล์มพอลิเอทิลีน ชนิดความหนาแน่นต่ำ |
Other Titles: | Use of silica from rice husk as antiblocking-agent in low density polyethylene film |
Authors: | จิตตินันท์ คุณสวัสดิ์ |
Advisors: | เสาวรจน์ ช่วยจุลจิตร์ อุไรวรรณ ลีลาอดิศร |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | saowaroj@sc.chula.ac.th ไม่มีข้อมูล |
Subjects: | ซิลิกา แกลบ พอลิเอทิลีน ฟิล์ม |
Issue Date: | 2539 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ฟิล์มพอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต่ำ (แอลดีพีอี) มักเกิดปัญหาการติดกันของฟิล์ม การใช้ซิลิกาจากแกลบเป็นสารลดการติดกันของฟิล์มสามารถแก้ปัญหานี้ได้ การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสมบัติของซิลิกาจากแกลบกับซิลิกาทางการค้า และหาปริมาณที่เหมาะสมของซิลิกาจากแกลบเพื่อใช้เป็นสารลดการติดกันของฟิล์มแอลดีพีอี จากการวิจัยพบว่าซิลิกาจากแกลบมีพื้นที่ผิวจำเพาะต่ำกว่าและมีขนาดอนุภาคเล็กกว่า แต่มีความหนาแน่นเชิงปริมาตรสูงกว่าซิลิกาทางการค้า โดยทั่วไปในอุตสาหกรรมฟิล์มพลาสติก ฟิล์มแอลดีพีอีจะใช้ซิลิกาทางการค้าในปริมาณ 500- 1,500 มก./ล. จากการวิจัยนี้พบว่า ฟิล์มแอลดีพีอีที่ใช้ซิลิกาจากแกลบ 2,000 – 3,000 มก./ล. จะมีสมบัติใกล้เคียงกับฟิล์มแอลดีพีอีที่ใช้ซิลิกาทางการค้าทั้งในด้านการติดกันของฟิล์ม ความแข็งแรงความใส |
Other Abstract: | Blocking always occurs in low density polyethylene (LDPE) films. Using silica as antiblocking – agent can solve this problem. The primary objectives of this investigation were to compare the properties of silica from rice husk with those of the commercial silica as well as to find the optimum amount of silica from rice husk for using as an antiblocking – agent in LDPE films. It was found that silica from rice husk has lower specific surface area and smaller particle size but higher bulk density than the commercial silica. Generally, 500-1,500 ppm of the commercial silica are added in LDPE films in the plastic film industry. In this investigation, LDPE films with 2,000-3,000 ppm silica from rice husk showed similar properties to LDPE films filled with the commercial silica in terms of their blocking force, mechanical strength and clarity. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12144 |
ISBN: | 9746358502 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chittinan_Ku_front.pdf | 767.93 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chittinan_Ku_ch1.pdf | 691.07 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chittinan_Ku_ch2.pdf | 907.01 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chittinan_Ku_ch3.pdf | 961.99 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chittinan_Ku_ch4.pdf | 1.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chittinan_Ku_ch5.pdf | 686.28 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chittinan_Ku_back.pdf | 1.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.